บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมบริเวณภาคกลาง(ตุลาคม 2553)
ภาพดาวเทียม GOES-9 | |||||||
1/10/2553 |
2/10/2553 |
3/10/2553 |
4/10/2553 |
9/10/2553 |
10/10/2553 |
11/10/2553 |
12/10/2553 |
13/10/2553 |
14/10/2553 |
15/10/2553 |
17/10/2553 |
18/10/2553 |
19/10/2553 |
25/10/2553 |
26/10/2553 |
|
ภาพแผนที่อากาศ | |||||||||
1/10/2553 |
2/10/2553 |
3/10/2553 |
4/10/2553 |
5/10/2553 |
6/10/2553 |
7/10/2553 |
8/10/2553 |
9/10/2553 |
10/10/2553 |
11/10/2553 |
12/10/2553 |
13/10/2553 |
14/10/2553 |
15/10/2553 |
16/10/2553 |
17/10/2553 |
18/10/2553 |
19/10/2553 |
20/10/2553 |
21/10/2553 |
22/10/2553 |
23/10/2553 |
24/10/2553 |
25/10/2553 |
26/10/2553 |
27/10/2553 |
28/10/2553 |
29/10/2553 |
|
ดูรายละเอียดเพิ่มเติม |
ภาพเรดาร์กรมอุตุนิยมวิทยา | |||||||||
เรดาร์พิษณุโลก รัศมี 240 กิโลเมตร | |||||||||
1/10/2553 17:25GMT |
2/10/2553 14:25GMT |
3/10/2553 13:25GMT |
5/10/2553 09:25GMT |
8/10/2553 17:25GMT |
9/10/2553 12:25GMT |
11/10/2553 09:25GMT |
12/10/2553 01:25GMT |
13/10/2553 22:25GMT |
14/10/2553 01:25GMT |
15/10/2553 03:25GMT |
16/10/2553 04:25GMT |
17/10/2553 17:25GMT |
18/10/2553 17:25GMT |
19/10/2553 17:25GMT |
20/10/2553 16:25GMT |
21/10/2553 17:25GMT |
|
|
|
dBz | |||||||||
เรดาร์หัวหิน รัศมี 240 กิโลเมตร | |||||||||
1/10/2553 12:29GMT |
2/10/2553 13:29GMT |
3/10/2553 18:29GMT |
4/10/2553 23:29GMT |
5/10/2553 03:29GMT |
6/10/2553 16:29GMT |
7/10/2553 13:29GMT |
8/10/2553 15:29GMT |
9/10/2553 14:29GMT |
10/10/2553 17:29GMT |
11/10/2553 19:29GMT |
12/10/2553 00:29GMT |
13/10/2553 19:29GMT |
14/10/2553 23:29GMT |
15/10/2553 08:29GMT |
16/10/2553 14:29GMT |
17/10/2553 17:29GMT |
19/10/2553 18:29GMT |
20/10/2553 13:29GMT |
21/10/2553 17:29GMT |
dBz | |||||||||
เรดาร์ระยอง รัศมี 240 กิโลเมตร | |||||||||
1/10/2553 23:03GMT |
2/10/2553 13:03GMT |
3/10/2553 13:03GMT |
4/10/2553 23:03GMT |
5/10/2553 02:03GMT |
6/10/2553 23:03GMT |
7/10/2553 01:03GMT |
10/10/2553 17:03GMT |
11/10/2553 23:03GMT |
12/10/2553 00:03GMT |
13/10/2553 21:03GMT |
14/10/2553 14:03GMT |
15/10/2553 10:03GMT |
16/10/2553 12:03GMT |
17/10/2553 16:03GMT |
19/10/2553 20:03GMT |
20/10/2553 11:03GMT |
21/10/2553 11:03GMT |
26/10/2553 15:03GMT |
27/10/2553 16:03GMT |
dBz | |||||||||
ข้อมูลจากเครือข่ายภาพเรดาร์กรมอุตุนิยมวิทยา เรดาร์พิษณุโลก หัวหิน และ ระยอง รัศมี 240 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ภาคเหนือและภาคกลาง พบว่าพื้นที่ภาคเหนือมีฝนตกมากช่วงวันที่ 12-15 , 17-21 ต.ค. และ 26 ต.ค. ภาคกลางตอนล่างและภาคตะวันออกมีฝนตกหนักช่วงวันที่ 1-5 และ 10-19 ต.ค. ดูรายละเอียดเพิ่มเติม เรดาร์พิษณุโลก หัวหิน ระยอง |
แผนภาพแสดงปริมาณฝนสะสมรายวันจากสถาบันวิจัยทหารเรืออเมริกา | |||||||
2/10/2553 [00:00] |
3/10/2553 [12:00] |
4/10/2553 [00:00] |
12/10/2553 [00:00] |
13/10/2553 [00:00] |
14/10/2553 [12:00] |
15/10/2553 [00:00] |
16/10/2553 [00:00] |
17/10/2553 [00:00] |
19/10/2553 [00:00] |
20/10/2553 [12:00] |
21/10/2553 [00:00] |
22/10/2553 [12:00] |
23/10/2553 [00:00] |
26/10/2553 [12:00] |
27/10/2553 [00:00] |
|
แผนภาพแสดงปริมาณฝนสะสมรายสัปดาห์จาก NASA | ||||
1/10/53[00Z]-8/10/53[00Z] |
9/10/53[00Z]-16/10/53[00Z] |
17/10/53[00Z]-24/10/53[00Z] |
25/10/53[00Z]-31/10/53[00Z] |
1/10/53[00Z]-31/10/53[00Z] |
จากแผนภาพฝนสะสมของ NASA พบว่าพื้นที่ภาคกลางมีกลุ่มฝนกระจุกตัวกันค่อนข้างมากในช่วงสัปดาห์ที่สองของเดือน หลังจากนั้นกลุ่มฝนได้กระจุกตัวลดน้อยลง หากพิจารณาถึงภาคอื่น ๆ พบว่า ช่วงสัปดาห์แรกกลุ่มฝนกระจุกตัวกันค่อนข้างมากบริเวณภาคใต้และภาคกลางตอนล่าง ต่อมาในสัปดาห์ที่สองกลุ่มฝนในพื้นที่ภาคใต้ได้ลดปริมาณลง แต่มีกลุ่มฝนกระจุกตัวมากในบริเวณภาคตะวันออก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ในสัปดาห์ที่สามและสี่ปริมาณฝนลดลงค่อนข้างมาก ได้มีกลุ่มฝนเกาะกลุ่มเล็กน้อยในบางพื้นที่ของภาคใต้ และหากพิจารณาปริมาณฝนรวมทั้งเดือน พบว่าเดือนตุลาคมมีฝนค่อนข้างมากบริเวณภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง และภาคตะวันออก ส่วนภาคใต้มีกลุ่มฝนกระจุกตัวมากเป็นหย่อม ๆ ในบางพื้นที่ |
แผนภาพแสดงปริมาณฝนสะสมรายเดือนสังเคราะห์จากข้อมูลฝนของสถานีตรวจอากาศกรมอุตุนิยมวิทยา
ค่าเฉลี่ยเดือนตุลาคม(2493-2540) |
ตุลาคม 2553 |
ตุลาคม 2549 |
|
จากแผนภาพข้อมูลฝนสะสมช่วงเดือนตุลาคม พบว่าเดือนตุลาคม ปี 2553 พื้นที่ภาคกลาง มีีฝนตกมากว่าเดือนตุลาคมของปี 2549 และมากกว่าค่าฝนเฉลี่ยเดือนตุลาคม จากค่าสถิติปี 2493-2540 โดยรายละเอียดฝนสะสมรายวันจากสถานีตรวจอากาศในพื้นที่ภาคเหนือและภาคกลางที่มีปริมาณฝนค่อนข้างมากในเดือนตุลาคม 2553 เป็นดังตารางด้านล่าง |
วันที่
|
สถานี
|
จังหวัด
|
ปริมาณฝน สะสมรายวัน(มม.) |
29/10/2553 |
พะเยา | พะเยา | 98.50 |
28/10/2553 |
ประจวบคีรีขันธ์ | ประจวบคีรีขันธ์ | 52.70 |
27/10/2553 |
พิษณุโลก | พิษณุโลก | 93.80 |
พิจิตร | พิจิตร | 62.80 |
|
26/10/2553 |
ชัยนาท | ชัยนาท | 87.00 |
นครสวรรค์ | นครสวรรค์ | 81.00 |
|
22/10/2553 |
นครสวรรค์ | นครสวรรค์ | 86.50 |
21/10/2553 |
แม่ฮ่องสอน | แม่ฮ่องสอน | 128.00 |
เชียงใหม่ | เชียงใหม่ | 78.60 |
|
ลำพูน | ลำพูน | 74.20 |
|
20/10/2553 |
ตาก | ตาก | 123.50 |
เขื่อนภูมิพล | ตาก | 100.90 |
|
สุโขทัย | สุโขทัย | 96.50 |
|
แม่สะเรียง | แม่ฮ่องสอน | 70.70 |
|
ดอยมูเซอ (1) | ตาก | 65.40 |
|
17/10/2553 |
ชัยนาท | ชัยนาท | 80.70 |
ตากฟ้า | นครสวรรค์ | 79.70 |
|
14/10/2553 |
เขื่อนภูมิพล | ตาก | 83.10 |
10/10/2553 |
นครสวรรค์ | นครสวรรค์ | 76.50 |
5/10/2553 |
ปทุมธานี (1) | ปทุมธานี | 92.00 |
การเตือนภัยปริมาณฝนผ่านโทรศัพท์มือถือ (sms) จากระบบโทรมาตรขนาดเล็ก
วันเตือนภัย
|
เวลาเตือนภัย
|
ช่วงเวลาฝนสะสม
|
สถานที่ |
ปริมาณฝน (มม.) |
ระดับการเตือนภัย
|
10/29/2010 |
9:00:00 |
ฝน08-09น. |
ต.พบพระ จ.ตาก | 31.2 | เฝ้าระวังสูงสุด |
10/29/2010 |
8:00:00 |
ฝนวานนี้ |
ต.จุน จ.พะเยา | 98.5 | เฝ้าระวังสูงสุด |
10/27/2010 |
8:00:00 |
ฝนวานนี้ |
ต.หนองกะท้าว จ.พิษณุโลก | 93.8 | เฝ้าระวังสูงสุด |
10/26/2010 |
11:00:00 |
ฝน07-11น. |
ต.วังทอง จ.พิษณุโลก | 77.6 | เฝ้าระวังสูงสุด |
10/26/2010 |
8:00:00 |
ฝน07-08น. |
ต.ผาเลือด จ.อุตรดิตถ์ | 35.8 | วิกฤต |
10/26/2010 |
8:00:00 |
ฝน06-07น. |
ต.ผาเลือด จ.อุตรดิตถ์ | 27.0 | เฝ้าระวังสูงสุด |
10/22/2010 |
10:00:00 |
ฝน09-10น. |
ต.พระบาทวังตวง จ.ลำปาง | 39.0 | เฝ้าระวังสูงสุด |
10/22/2010 |
8:00:00 |
ฝนวานนี้ |
ต.มหาโพธิ จ.นครสวรรค์ | 86.5 | เฝ้าระวังสูงสุด |
10/22/2010 |
6:00:00 |
ฝน05-06น. |
ต.วัดจันทร์ จ.พิษณุโลก | 38.0 | วิกฤต |
10/21/2010 |
8:00:00 |
ฝนวานนี้ |
ต.ห้วยผา จ.แม่ฮ่องสอน | 128.0 | วิกฤต |
10/20/2010 |
8:00:00 |
ฝนวานนี้ |
ต.สามเงา จ.ตาก | 100.9 | วิกฤต |
10/20/2010 |
8:00:00 |
ฝนวานนี้ |
ต.ตากออก จ.ตาก | 123.5 | วิกฤต |
10/20/2010 |
8:00:00 |
ฝนวานนี้ |
ต.ราวต้นจันทร์ จ.สุโขทัย | 96.5 | เฝ้าระวังสูงสุด |
10/20/2010 |
1:00:00 |
ฝน20/07-21/00น. |
ต.ในเมือง จ.อุตรดิตถ์ | 74.4 | เฝ้าระวังสูงสุด |
10/19/2010 |
23:00:00 |
ฝน07-23น. |
ต.ระแหง จ.ตาก | 86.8 | เฝ้าระวังสูงสุด |
10/19/2010 |
17:00:00 |
ฝน17-18น. |
ต.ระแหง จ.ตาก | 31.4 | เฝ้าระวังสูงสุด |
10/19/2010 |
1:00:00 |
ฝน19/07-20/01น. |
ต.ระแหง จ.ตาก | 107.6 | วิกฤต |
10/18/2010 |
20:00:00 |
ฝน07-20น. |
ต.น้ำหนาว จ.เพชรบูรณ์ | 74.2 | เฝ้าระวังสูงสุด |
10/16/2010 |
23:00:00 |
ฝน22-23น. |
ต.แม่ระมาด จ.ตาก | 35.4 | วิกฤต |
10/16/2010 |
22:00:00 |
ฝน21-22น. |
ต.แม่ระมาด จ.ตาก | 30.2 | เฝ้าระวังสูงสุด |
10/15/2010 |
23:00:00 |
ฝน07-23น. |
ต.ท่าโรง จ.เพชรบูรณ์ | 70.4 | เฝ้าระวังสูงสุด |
10/15/2010 |
19:00:00 |
ฝน07-19น. |
ต.หนองกลับ จ.นครสวรรค์ | 70.4 | เฝ้าระวังสูงสุด |
10/15/2010 |
13:00:00 |
ฝน07-13น. |
ต.เก้าเลี้ยว จ.นครสวรรค์ | 85.4 | เฝ้าระวังสูงสุด |
10/15/2010 |
4:00:00 |
ฝน15/07-16/04น. |
ต.สะแกกรัง จ.อุทัยธานี | 95.4 | เฝ้าระวังสูงสุด |
10/15/2010 |
3:00:00 |
ฝน15/07-16/03น. |
ต.ย่านมัทรี จ.นครสวรรค์ | 96.2 | เฝ้าระวังสูงสุด |
10/15/2010 |
2:00:00 |
ฝน15/07-16/02น. |
ต.ชอนสารเดช จ.ลพบุรี | 96.0 | เฝ้าระวังสูงสุด |
10/15/2010 |
2:00:00 |
ฝน15/07-16/02น. |
ต.ท่ามะนาว จ.ลพบุรี | 98.4 | เฝ้าระวังสูงสุด |
10/15/2010 |
1:00:00 |
ฝน15/07-16/00น. |
ต.โคกสะอาด จ.เพชรบูรณ์ | 70.4 | เฝ้าระวังสูงสุด |
10/14/2010 |
8:00:00 |
ฝน07-08น. |
ต.พระบาทวังตวง จ.ลำปาง | 41.0 | วิกฤต |
10/14/2010 |
8:00:00 |
ฝน07-08น. |
ต.พระบาทวังตวง จ.ลำปาง | 39.6 | เฝ้าระวังสูงสุด |
10/12/2010 |
1:00:00 |
ฝน12/07-13/00น. |
ต.หนองไผ่ จ.เพชรบูรณ์ | 75.4 | เฝ้าระวังสูงสุด |
10/11/2010 |
17:00:00 |
ฝน16-17น. |
ต.ป่าพุทรา จ.กำแพงเพชร | 34.4 | เฝ้าระวังสูงสุด |
ข้อมูลระดับน้ำล้นตลิ่งจากสถานีวัดระดับน้ำท่า กรมชลประทาน | ||
ลุ่มน้ำเจ้าพระยา | ||
(C.2)ค่ายจิรประวัติ อ.เมือง จ.นครสวรรค์ (ระดับตลิ่ง 25.56 ม.) |
(C.13)ท้ายเขื่อนเจ้าพระยา อ.สรรพยา จ.ชัยนาท (ระดับตลิ่ง 16.34 ม.) |
(C.35)สะพานรถยนต์ จ.พระนครศรีอยุธยา (ระดับตลิ่ง 4.41 ม.) |
จากกราฟแสดงข้อมูลระดับน้ำจากสถานีตรวจวัดน้ำท่ากรมชลประทานในแม่น้ำเจ้าพระยา พบว่าที่ค่ายจิรประวัติ จ.นครสวรรค์ มีระดับน้ำค่อนข้างสูง ส่วนที่เขื่อนเจ้าพระยา จ.ชัยนาท และที่สะพานรถยนต์ จ.พระนครศรีอุธยา มีระดับน้ำล้นตลิ่ง รายละเอียดเพิ่มเติม |
ปริมาณน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยาและแม่น้ำป่าสัก | |
จากกราฟแสดงปริมาณน้ำไหลผ่านรายวันที่สถานีวัดน้ำท่าในแม่น้ำเจ้าพระยา ช่วงเดือนตุลาคม 2553 พบว่าปริมาณน้ำเริ่มเพิ่มสูงขึ้นค่อนข้างมากตั้งแต่ช่วงกลางเดือน โดยปริมาณน้ำไหลผ่านสูงสุดที่สถานีค่ายจิรประวัติ อ.เมือง จ.นครสวรรค์ อยู่ที่ 243.22 ล้านลูกบาศก์เมตร (2,815 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที) ในวันที่ 26 ตุลาคม ที่สถานีท้ายเขื่อนเจ้าพระยา อ.สรรพยา จ.ชัยนาท มีปริมาณน้ำไหลผ่านสูงสุด อยู่ที่ 324.60 ล้านลูกบาศก์เมตร ( 3,757 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที) ในวันที่ 27 ตุลาคม ส่วนที่สถานีบางไทร อ.บางไทร จ.พระนครศรีอยุธยา มีปริมาณน้ำไหลผ่านสุงสุดอยู่ที่ 304.65 ล้านลูกบาศก์เมตร ( 3,526 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที) ในวันที่ 29 ตุลาคม |
|
|
ข้อมูลปริมาณน้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ | |
เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ | |
ปริมาณน้ำไหลลงสะสม ต.ค.53 = 1,639.31 ล้าน ลบ.ม. ไหลลงสูงสุด = 132.32 ล้าน ลบ.ม.วันที่ 20 ต.ค.53 |
น้ำเก็บกัก ณ 31 ต.ค. = 976 ล้าน ลบ.ม.(102%ที่ รนก.) เพิ่มขึ้นจากเดือน ก.ย.53 = 149 ล้าน ลบ.ม. |
เขื่อนกระเสียว | |
ปริมาณน้ำไหลลงสะสม ต.ค.53 = 334.59 ล้าน ลบ.ม. ไหลลงสูงสุด = 29.36 ล้าน ลบ.ม.วันที่ 5 ต.ค.53 |
น้ำเก็บกัก ณ 31 ต.ค. = 263 ล้าน ลบ.ม.(110%ที่ รนก.) เพิ่มขึ้นจากเดือน ก.ย.53 = 6 ล้าน ลบ.ม. |
เขื่อนทับเสลา | |
ปริมาณน้ำไหลลงสะสม ต.ค.53 = 118.44 ล้าน ลบ.ม. ไหลลงสูงสุด = 17.79 ล้าน ลบ.ม.วันที่ 21 ต.ค.53 |
น้ำเก็บกัก ณ 31 ต.ค. = 165 ล้าน ลบ.ม.(103%ที่ รนก.) เพิ่มขึ้นจากเดือน ก.ย.53 = 58 ล้าน ลบ.ม. |
ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมแสดงพื้นที่น้ำท่วมจาก GISTDA (คลิ๊กที่ภาพเพื่อแสดงภาพเต็ม)
รายงานการติดตามพื้นที่น้ำท่วม ปี 2553 โดยใ้่ช้ข้อมูลจากดาวเทียม RADARSAT-2 จัดทำโดย สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (GISTDA)
ข้อมูลจากภาพถ่ายดาวเทียมแสดงพื้นที่น้ำท่วมภาคกลาง พบว่าเดือนตุลาคม 2553 จังหวัดที่มีพื้นที่น้ำท่วมมากที่สุด 5 อันดับแรก ได้แก่ จังหวัดนครสวรรค์ พระนครศรีอยุธยา สุพรรณบุรี ลพบุรี และนครปฐม โดยจังหวัดที่มีพื้นที่น้ำท่วมเพิ่มขึ้นจากเดือนกันยายน ได้แก่ จังหวัดนครสวรรค์ ชัยนาท อุทัยธานี สุพรรณบุรี สิงห์บุรี อ่างทอง ลพบุรี พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี กรุงเทพมหานคร นครปฐม สมุทรปราการ สมุทรสาคร และหากเทียบกับเดือนพฤศจิกายน พบว่าเกือบทุกจังหวัดมีพื้นที่น้ำท่วมลดน้อยลง ยกเว้น จังหวัดสุพรรณบุรี นครปฐม สมุทรปราการ และ เพชรบุรี รายละเอียดเพิ่มเติมตามตารางด้านล่าง |
จังหวัด |
กันยายน |
ตุลาคม |
พฤศจิกายน |
นครสวรรค์ | 489,831 | 1,338,954 | 783,392 |
พระนครศรีอยุธยา | 549,967 | 992,063 | 830,957 |
สุพรรณบุรี | 309,924 | 845,765 | 867,288 |
ลพบุรี | 389,083 | 508,999 | 221,343 |
นครปฐม | 1,539 | 313,659 | 319,799 |
อ่างทอง | 129,125 | 273,897 | 195,366 |
สิงห์บุรี | 152,406 | 214,733 | 136,565 |
ชัยนาท | 178,665 | 197,799 | 93,638 |
ปทุมธานี | 2,463 | 194,150 | 91,976 |
สระบุรี | 197,864 | 192,776 | 131,914 |
กรุงเทพมหานคร | - | 92,910 | 86,456 |
อุทัยธานี | 6,616 | 90,502 | 51,089 |
นนทบุรี | - | 60,209 | 20,444 |
ราชบุรี | 122,518 | 59,898 | - |
สมุทรปราการ | - | 57,672 | 79,290 |
กาญจนบุรี | 124,230 | 7,660 | - |
สมุทรสาคร | - | 506 | - |
เพชรบุรี | - | - | 2,456 |
ข่าวจากหนังสือพิมพ์ -------------------------------------------------------------------------------------- เมื่อวันที่ 28 ต.ค. ผู้สื่อข่าวรายงานว่า สถานการณ์น้ำท่วมที่จ.พระนครศรีอยุธยา ยังน่าเป็นห่วง เพราะน้ำทะเลยังคงหนุนสูงสุด ประกอบกับเขื่อนเจ้าพระยา จ.ชัยนาท เร่งปล่อยน้ำลงมา ทำให้ปริมาณน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยา และแม่น้ำน้อย เพิ่มสูงขึ้นอีก 20-30 เซนติเมตร ซึ่งระดับน้ำเท่ากับปีพ.ศ.2538 แต่ปริมาณน้ำมากกว่าไหลเข้าท่วมพื้นที่เกษตร กระจายเข้าท่วมบ้านเรือนประชาชน วัด สถานที่ราชการ ชุมชน และโบราณสถานเฉลี่ยความสูงของน้ำที่ 3-5 เมตร -------------------------------------------------------------------------------------- วันที่ 26 ต.ค. ระดับน้ำที่ อ.อินทร์บุรี อ.เมือง และ อ.พรหมบุรี จ.สิงห์บุรี ได้เพิ่มสูงขึ้น เพราะน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยาเพิ่มปริมาณสูงขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากเขื่อนเจ้าพระยาได้ระบายน้ำลงในแม่น้ำเจ้าพระยา 3,353 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ชาวบ้านที่อาศัยอยู่สองฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาถูกน้ำท่วม ต้องขนย้ายข้าวของหนีกันวุ่นวาย -------------------------------------------------------------------------------------- จังหวัดนครสวรรค์ ได้ประกาศพื้นที่ประสบอุทกภัยแล้วทั้งจังหวัด จำนวน15 อำเภอ ได้แก่ อำเภอลาดยาว บรรพตพิสัย ชุมตาบง ตากฟ้า แม่เปิน แม่วงก์ ชุมแสง โกรกพระ หนองบัว อำเภอเมือง อำเภอเก้าเลี้ยว อำเภอพยุหะคีรี อำเภอท่าตะโก อำเภอไพศาลี และอำเภอตาคลี รวม 88 ตำบล 654 หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน 29,148 ครัวเรือน 74,196 คน ถนนเสียหาย 192 สาย ฝาย 12 แห่ง บ่อปลา 156 บ่อ พื้นที่การเกษตรได้รับผลกระทบ 163,083 ไร่ ในเบื้องต้นจังหวัดและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้ให้การช่วยเหลือ ได้แก่ ถุงยังชีพ กว่า 24,748 ชุด ยารักษาโรค 3,252 ชุด น้ำดื่ม 34,038 ขวด สนับสนุนเรือท้องแบน เรือพาย 36 ลำ เครื่องสูบน้ำ 9 เครื่องรถสุขาเคลื่อนที่ 1 คัน รถบรรทุก 1 คัน สถานการณ์น้ำท่วมช่วงค่ำที่ผ่านมา ภายในตลาดเก่า 100 ปี อำเภอท่าเรือ จ.พระนครศรีอยุธยา กลายเป็นเหมือนเมืองร้าง หลังถูกน้ำจากแม่น้ำป่าสักไหลเข้าท่วมสูงเกือบ 2 เมตร ตั้งแต่ช่วงวันเสาร์ ที่ผ่านมา ทั้งนี้พบว่าพ่อค้า - แม้ค้า ที่เคยขายของในตลาดแห่งนี้จำนวนมากต้องปิดร้านชั่วคราวและย้ายไปอาศัยอยู่กับญาติ และบางส่วนอพยพไปอาศัยที่นอนชั่วคราวริมถนนสายท่าเรือ - เสาไห้ นอกจากนี้ยังพบว่า มีเจ้าของร้านค้าและอาคารพานิชย์บางส่วน ยังคุยลุยน้ำเข้าไป เฝ้าร้าน เพราะเกรงว่าทรัพย์สินภายในบ้านหรือตัวอาคาร จะถูกมิจฉาชีพฉวยโอกาสในช่วงน้ำท่วมทำการโจรกรรมสิ่งของ -------------------------------------------------------------------------------------- วันนี้ (13 ต.ค.2553) นายวิบูลย์ สงวนพงศ์ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) กล่าวถึงสถานการณ์น้ำท่วม กรณีอิทธิพลของร่องมรสุมกำลังค่อนข้างแรงพาดผ่านประเทศไทย ทำให้มีฝนตกชุกหนาแน่นหลายพื้นที่ ว่า ส่งผลให้เกิดสถานการณ์อุทกภัยใน 19 จังหวัด 425 อำเภอ 271 ตำบล 796 หมู่บ้าน ราษฎรเดือดร้อน 21,901 ครัวเรือน 55,396 คน พื้นที่การเกษตรเสียหาย 32,428 ไร่ โดยขณะนี้สถานการณ์อุทกภัยคลี่คลายแล้ว 10 จังหวัด ได้แก่ เชียงราย น่าน สุโขทัย ลำพูน นครสวรรค์ สิงห์บุรี นครราชสีมา สมุทรสาคร ประจวบคีรีขันธ์ และชลบุรี สำหรับการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย กรม ปภ. โดยศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต 2 สุพรรณบุรี เขต 4 ประจวบคีรีขันธ์ เขต 10 ลำปาง เขต 15 เชียงราย 17 จันทบุรี และสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดที่ประสบภัย ได้ประสานและขอความร่วมมือกับจังหวัด อำเภอ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดส่งเรือท้องแบน 29 ลำ รถผลิตน้ำ 1 คัน รถบรรทุกน้ำ 3 คันรถแบ๊กโฮ 3 คัน เต็นท์พักอาศัยชั่วคราว 15 หลัง เครื่องสูบน้ำ 2 เครื่อง กำลังพล 20 นาย และถุงยังชีพ 3,900 ถุง ให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยแล้ว พร้อมทั้งเร่งสำรวจความเสียหาย เพื่อให้การช่วยเหลือผู้ประสบภัยตามระเบียบกระทรวงการคลัง ส่วน ในวันที่ 14 ต.ค. เวลา 08.40 น.นายชวรัตน์ ชาญวีรกูล รมว.มหาดไทย เตรียมเดินด้วยเฮลิคอปเตอร์ไปยังหอประชุมองค์การบริหารส่วนจังหวัด จ.พระนครศรีอยุธยา เพื่อเป็นประธานมอบถุงยังชีพพระราชทานแก่ราษฎร จำนวน 500 ถุง พร้อมให้ผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี สมุทรสาคร อ่างทอง สิงห์บุรี ชัยนาท กล่าวรายงานสถานการณ์อุทกภัยและการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยในแต่ละจังหวัด จากนั้นเวลา 11.0 0 น.คณะของกระทรวงมหาดไทยจะเดินทางไปยัง จ.นครราชสีมา เพื่อประชุมมอบนโยบายในการเตรียมการป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยหนาว ร่วมกับหัวหน้าส่วนราชการในสังกัดกระทรวงมหาดไทยและหัวหน้าส่วนราชการ ในพื้นที่ -------------------------------------------------------------------------------------- |
ข้อมูลอ้างอิง |