บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมบริเวณภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก (กันยายน 2553)
ภาพดาวเทียม GOES-9 | |||||||||
1/9/2553 |
2/9/2553 |
3/9/2553 |
4/9/2553 |
5/9/2553 |
6/9/2553 |
7/9/2553 |
8/9/2553 |
9/9/2553 |
10/9/2553 |
11/9/2553 |
12/9/2553 |
13/9/2553 |
14/9/2553 |
15/9/2553 |
16/9/2553 |
17/9/2553 |
18/9/2553 |
19/9/2553 |
20/9/2553 |
21/9/2553 |
22/9/2553 |
23/9/2553 |
24/9/2553 |
25/9/2553 |
26/9/2553 |
27/9/2553 |
28/9/2553 |
29/9/2553 |
30/9/2553 |
จากภาพถ่ายดาวเทียม GOES-9 พบว่ามีกลุ่มเมฆปกคลุมพื้นที่ประเทศไทยตลอดทั้งเดือน โดยเฉพาะช่วงประมาณวันที่ 8-18 ก.ย. ที่มีกลุ่มเมฆค่อนข้างหนาปกคลุมบริเวณตอนบนและตอนกลางของประเทศ อย่างต่อเนื่อง ทำให้พื้นที่ดังกล่าวมีฝนตกต่อเนื่องกันเป็นเวลานาน ส่งผลให้เกิดน้ำท่วมต่อเนื่องจากเดือนที่แล้วในพื้นที่ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในหลายจังหวัด เช่น เชียงราย น่าน แพร่ พะเยา พิษณุโลก เพชรบูรณ์ อุบลราชธานี สกลนคร บึงกาฬ นครราชสีมา กาฬสินธุ์ นอกจากนี้ยังมีน้ำท่วมเพิ่มเิติมในพื้นที่ภาคกลาง บริเวณจังหวัดนครสวรรค์ อุทัยธานี กาญจนบุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี เป็นต้น ดูรายละเอียดเพิ่มเติม |
ภาพแผนที่อากาศ | |||||||||
1/9/2553 |
2/9/2553 |
3/9/2553 |
4/9/2553 |
5/9/2553 |
6/9/2553 |
7/9/2553 |
8/9/2553 |
9/9/2553 |
10/9/2553 |
11/9/2553 |
12/9/2553 |
13/9/2553 |
14/9/2553 |
15/9/2553 |
16/9/2553 |
17/9/2553 |
18/9/2553 |
19/9/2553 |
20/9/2553 |
21/9/2553 |
22/9/2553 |
23/9/2553 |
24/9/2553 |
25/9/2553 |
26/9/2553 |
27/9/2553 |
28/9/2553 |
29/9/2553 |
30/9/2553 |
จากภาพแผนที่อากาศกรมอุตุนิยมวิทยา พบว่าเดือนกันยายน(วันที่ 1-4 , 8-19 21-24 และ 30) มีร่องมรสุมกำลังแรงพาดผ่านบริเวณภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบกับมีลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดปกคลุมทะเลอันดามันและอ่าวไทย นอกจากนี้ร่องมรสุมยังได้เลื่อนต่ำลงมาพาดผ่านบริเวณด้านตะวันตกของประเทศ ภาคกลาง และภาคตะวันออก ลักษณะเช่นนี้ ทำให้ในช่วงเดือนกันยายน มีฝนตกชุกหนาแน่นและส่งผลทำให้เกิดน้ำท่วมในหลายพื้นที่ |
ภาพเรดาร์กรมอุตุนิยมวิทยา | |||||||||
เรดาร์เชียงราย รัศมี 240 กิโลเมตร | |||||||||
1/9/2553 19:27GMT |
2/9/2553 17:27GMT |
3/9/2553 23:27GMT |
4/9/2553 05:27GMT |
5/9/2553 15:27GMT |
6/9/2553 07:27GMT |
7/9/2553 06:27GMT |
8/9/2553 23:27GMT |
9/9/2553 01:27GMT |
10/9/2553 03:27GMT |
11/9/2553 00:27GMT |
12/9/2553 20:27GMT |
13/9/2553 17:27GMT |
14/9/2553 22:27GMT |
15/9/2553 05:27GMT |
16/9/2553 08:27GMT |
17/9/2553 22:27GMT |
18/9/2553 01:27GMT |
19/9/2553 04:27GMT |
20/9/2553 05:27GMT |
21/9/2553 05:27GMT |
22/9/2553 19:27GMT |
23/9/2553 00:27GMT |
24/9/2553 06:27GMT |
25/9/2553 14:27GMT |
26/9/2553 11:27GMT |
27/9/2553 14:27GMT |
28/9/2553 06:27GMT |
29/9/2553 17:27GMT |
30/9/2553 10:27GMT |
เรดาร์พิษณุโลก รัศมี 240 กิโลเมตร | |||||||||
1/9/2553 13:25GMT |
2/9/2553 15:25GMT |
3/9/2553 14:25GMT |
4/9/2553 09:25GMT |
5/9/2553 09:25GMT |
6/9/2553 08:25GMT |
7/9/2553 07:25GMT |
8/9/2553 18:25GMT |
9/9/2553 10:25GMT |
10/9/2553 13:25GMT |
11/9/2553 14:25GMT |
12/9/2553 14:25GMT |
13/9/2553 13:25GMT |
14/9/2553 14:25GMT |
15/9/2553 15:25GMT |
16/9/2553 16:25GMT |
17/9/2553 13:25GMT |
18/9/2553 17:25GMT |
20/9/2553 14:25GMT |
21/9/2553 08:25GMT |
22/9/2553 11:25GMT |
23/9/2553 20:25GMT |
24/9/2553 11:25GMT |
25/9/2553 08:25GMT |
26/9/2553 17:25GMT |
27/9/2553 00:25GMT |
28/9/2553 23:25GMT |
29/9/2553 10:25GMT |
30/9/2553 08:25GMT |
|
เรดาร์สกลนคร รัศมี 240 กิโลเมตร | |||||||||
1/9/2553 06:38GMT |
2/9/2553 05:38GMT |
3/9/2553 17:38GMT |
4/9/2553 20:38GMT |
5/9/2553 22:38GMT |
6/9/2553 22:38GMT |
7/9/2553 08:38GMT |
8/9/2553 19:38GMT |
9/9/2553 02:38GMT |
10/9/2553 17:38GMT |
11/9/2553 23:38GMT |
12/9/2553 21:38GMT |
13/9/2553 20:38GMT |
14/9/2553 16:38GMT |
15/9/2553 19:38GMT |
16/9/2553 15:38GMT |
17/9/2553 14:38GMT |
18/9/2553 00:38GMT |
19/9/2553 10:38GMT |
20/9/2553 20:38GMT |
21/9/2553 19:38GMT |
22/9/2553 13:38GMT |
23/9/2553 23:38GMT |
24/9/2553 00:38GMT |
25/9/2553 07:38GMT |
26/9/2553 11:38GMT |
27/9/2553 05:38GMT |
28/9/2553 17:38GMT |
29/9/2553 23:38GMT |
30/9/2553 06:38GMT |
เรดาร์อุบลราชธานี รัศมี 240 กิโลเมตร | |||||||||
1/9/2553 12:40GMT |
2/9/2553 07:40GMT |
3/9/2553 03:40GMT |
4/9/2553 16:40GMT |
5/9/2553 13:40GMT |
6/9/2553 01:40GMT |
7/9/2553 08:40GMT |
8/9/2553 14:40GMT |
9/9/2553 11:40GMT |
10/9/2553 14:40GMT |
11/9/2553 08:40GMT |
12/9/2553 16:40GMT |
13/9/2553 17:40GMT |
14/9/2553 11:40GMT |
15/9/2553 13:40GMT |
16/9/2553 07:40GMT |
17/9/2553 13:40GMT |
18/9/2553 11:40GMT |
19/9/2553 08:40GMT |
20/9/2553 05:40GMT |
21/9/2553 14:40GMT |
22/9/2553 08:40GMT |
23/9/2553 08:40GMT |
24/9/2553 10:40GMT |
25/9/2553 07:40GMT |
26/9/2553 23:40GMT |
27/9/2553 04:40GMT |
28/9/2553 20:40GMT |
29/9/2553 14:40GMT |
30/9/2553 10:40GMT |
เรดาร์ระยอง รัศมี 240 กิโลเมตร | |||||||||
1/9/2553 19:03GMT |
2/9/2553 17:03GMT |
3/9/2553 11:03GMT |
4/9/2553 14:03GMT |
5/9/2553 23:03GMT |
6/9/2553 01:03GMT |
7/9/2553 04:03GMT |
8/9/2553 09:03GMT |
9/9/2553 10:03GMT |
10/9/2553 17:03GMT |
11/9/2553 11:03GMT |
12/9/2553 09:03GMT |
13/9/2553 15:03GMT |
14/9/2553 11:03GMT |
15/9/2553 12:03GMT |
16/9/2553 17:03GMT |
17/9/2553 11:03GMT |
18/9/2553 08:03GMT |
19/9/2553 02:03GMT |
20/9/2553 08:03GMT |
21/9/2553 09:03GMT |
22/9/2553 08:03GMT |
23/9/2553 07:03GMT |
24/9/2553 09:03GMT |
25/9/2553 11:03GMT |
26/9/2553 08:03GMT |
27/9/2553 05:03GMT |
28/9/2553 16:03GMT |
29/9/2553 02:03GMT |
30/9/2553 14:03GMT |
ข้อมูลจากเครือข่ายภาพเรดาร์กรมอุตุนิยมวิทยา เรดาร์เชียงราย พิษณุโลก สกลนคร อุบลราชราชธานีและระยอง รัศมี 240 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ตอนบนและตอนกลางของประเทศ พบว่ามีฝนตกในพื้นที่ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก ตลอดทั้งเดือน โดยเฉพาะช่วงกลางเดือน ประมาณวันที่ 8-18 กันยายน ที่มีฝนตกหนักอย่างต่อเนื่อง โดยภาคเหนือมีฝนค่อนข้างมากบริเวณจังหวัดเชียงราย แพร่ น่าน ลำปาง แม่ฮ่องสอน ลำพูน พิษณุโลก อุตรดิตถ์ ตาก สุโขทัย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีฝนมากบริเวณจังหวัดนครราชสีมา กาฬสินธุ์ อุบลราชธานี เพชรบูรณ์ สุรินทร์ นครพนม สกลนคร ศรีสะเ้กษ หนองคาย ชัยภูมิ ภาคกลางมีฝนค่อนข้างมากบริเวณจังหวัดอ่างทอง สุพรรณบุรี อุทัยธานี ลพบุรี นครสวรรค์ กาญจนบุรี ชัยนาท พระนครศรีอยุธยา นครปฐม ปทุมธานี และกรุงเทพมหานคร และภาคตะวันออกมีฝนค่อนข้างมากบริเวณจังหวัดปราจีนบุรี ตราด ฉะเชิงเทรา จันทบุรี และระยอง ดูรายละเอียดเพิ่มเติม เรดาร์เชียงราย เรดาร์พิษณุโลก เรดาร์สกลนคร เรดาร์อุบลราชธานี ระยอง |
ปริมาณฝนสะสม | |||||||||
1/9/2553 [12:00] |
2/9/2553 [00:00] |
3/9/2553 [00:00] |
4/9/2553 [12:00] |
5/9/2553 [12:00] |
6/9/2553 [12:00] |
7/9/2553 [12:00] |
9/9/2553 [12:00] |
10/9/2553 [12:00] |
11/9/2553 [00:00] |
12/9/2553 [12:00] |
13/9/2553 [12:00] |
15/9/2553 [12:00] |
16/9/2553 [12:00] |
17/9/2553 [12:00] |
18/9/2553 [00:00] |
19/9/2553 [00:00] |
20/9/2553 [12:00] |
21/9/2553 [00:00] |
22/9/2553 [00:00] |
23/9/2553 [00:00] |
24/9/2553 [00:00] |
25/9/2553 [12:00] |
26/9/2553 [12:00] |
27/9/2553 [00:00] |
28/9/2553 [00:00] |
29/9/2553 [12:00] |
30/9/2553 [00:00] |
||
จากแผนภาพแสดงปริมาณฝนสะสมของสถาบันวิจัยทหารเรืออเมริกา พบว่าเดือนกันยายน มีกลุ่มฝนกระจุกตัวในพื้นที่ประเทศไทย ซึ่งโดยส่วนใหญ่จะกระจุกตัวอยู่บริเวณตอนบนและตอนกลางของประเทศ โดยเฉพาะวันที่ 1-3 , 9-19 27-30 กันยายน ที่มีกลุ่มฝนกระจุกตัวมากอย่างต่อเนื่อง ส่วนวันอื่น ๆ มีกลุ่มฝนกระจุกตัวกันเป็นหย่อม ๆ ในบางพื้นที่ รายละเอียดเพิ่มเติม |
แผนภาพปริมาณฝนสะสมจาก NASA | ||||
1/9/2553[00Z]-8/9/2553[21Z] |
9/9/2553[00Z]-15/9/2553[21Z] |
16/9/2553[00Z]-23/9/2553[21Z] |
24/9/2553[00Z]-30/9/2553[21Z] |
1/9/2553[00Z]-30/9/2553[21Z] |
จากแผนภาพฝนสะสมของ NASA พบว่าช่วงสัปดาห์แรกมีกลุ่มฝนกระจุกตัวค่อนข้างมากบริเวณภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนและตอนล่าง ในสัปดาห์ที่สองของเดือนกลุ่มฝนกระจุกตัวเพิ่มมากขึ้นในทุกภาค สัปดาห์ที่สามปริมาณฝนลดลงจากสัปดาห์ที่สองและยังคงเกาะกลุ่มในพื้นที่ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สัปดาห์ที่สี่กลุ่มฝนกระจุกตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ที่สาม โดยกระจุกตัวกันค่อนข้างมากบริเวณภาคกลาง และตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง และภาคเหนือตอนบน และหากพิจารณาปริมาณฝนรวมทั้งเดือน พบว่า ในเดือนกันยายน มีกลุ่มฝนกระจุตัวกันค่อนข้างมากบริเวณภาคกลางทางด้านตะวันตกของประเทศ บริเวณจังหวัดตาก อุทัยธานี กาญจนบุรี สุพรรณบุรี ราชบุรี นครปฐม กรุงทพมหานครและปริมณฑล ภาคตะวันออกตอนบน บริเวณจังหวัดฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง บริเวณจังหวัดสุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี และทางทิศตะวันตกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือบริเวณจังหวัดเพชรบุรณ์ ชัยภูมิ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนบริเวณจังหวัดหนองคาย และภาคเหนือตอนบนบริเวณจังหวัดเชียงราย |
ข้อมูลปริมาณฝนจากสถานีตรวจอากาศกรมอุตุนิยมวิทยา
แผนภาพฝนเฉลี่ยเดือน ก.ย. จากค่าสถิติปี2493-2540 |
ก.ย. 53 |
ก.ย. 52 |
ก.ย.51 |
จากแผนภาพข้อมูลฝนสะสมช่วงเดือนกันยายน พบว่าเดือนกันยายน ปี 2553 พื้นที่ภาคเหนือตอนบน ภาคเหนือตอนล่าง ภาคกลางตอนล่าง กรุงเทพมหานครและปริมณฑล มีฝนตกมากว่าเดือนกันยายนของปี 2552 และ 2551 รวมทั้งมากกว่าค่าฝนเฉลี่ยเดือนกันยายนจากค่าสถิติปี 2493-2540 ส่วนพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือในปี 2553 มีฝนตกน้อยกว่าปี 2552 และ 2551 รวมทั้งน้อยกว่าค่าฝนเฉลี่ยเดือนกันยายน จากค่าสถิติปี 2493-2540 โดยรายละเอียดฝนสะสมรายวันที่มีปริมาณฝนค่อนข้างมากในเดือนกันยายน 2553 เป็นดังตารางด้านล่าง |
วันที่
|
สถานี |
จังหวัด |
ปริมาณฝน
สะสมรายวัน (มม.) |
29/09/2553 |
ศูนย์สิริกิตต์ | กรุงเทพมหานคร | 51.8 |
28/09/2553 |
ปากช่อง (1) | นครราชสีมา | 63.4 |
เชียงราย | เชียงราย | 62.4 |
|
กาญจนบุรี | กาญจนบุรี | 58.5 |
|
ลพบุรี | ลพบุรี | 53.7 |
|
27/09/2553 |
ชัยนาท | ชัยนาท | 92.4 |
บางนา (1) | กรุงเทพมหานคร | 75.2 |
|
ตากฟ้า | นครสวรรค์ | 68.0 |
|
หล่มสัก | เพชรบูรณ์ | 66.4 |
|
ท่าเรือกรุงเทพฯ | กรุงเทพมหานคร | 62.8 |
|
ศูนย์สิริกิตต์ | กรุงเทพมหานคร | 56.2 |
|
26/09/2553 |
ศรีสะเกษ (1) | ศรีสะเกษ | 56.3 |
25/09/2553 |
ปทุมธานี (1) | ปทุมธานี | 57.0 |
24/09/2553 |
สุโขทัย | สุโขทัย | 65.5 |
23/09/2553 |
ท่าวังผา (2) | น่าน | 96.4 |
นครราชสีมา | นครราชสีมา | 73.5 |
|
ชัยภูมิ | ชัยภูมิ | 55.7 |
|
ฉะเชิงเทรา (1) | ฉะเชิงเทรา | 50.6 |
|
เชียงราย (1) | เชียงราย | 50.3 |
|
19/09/2553 |
ดอยมูเซอ (1) | ตาก | 63.2 |
18/09/2553 |
บางนา (1) | กรุงเทพมหานคร | 115.8 |
ท่าเรือกรุงเทพฯ | กรุงเทพมหานคร | 80.7 |
|
ศูนย์สิริกิตต์ | กรุงเทพมหานคร | 59.3 |
|
16/09/2553 |
น่าน (1) | น่าน | 68.9 |
ศรีสะเกษ (1) | ศรีสะเกษ | 50.9 |
|
15/09/2553 |
น่าน | น่าน | 94.1 |
อุตรดิตถ์ | อุตรดิตถ์ | 84.9 |
|
พิษณุโลก | พิษณุโลก | 82.5 |
|
ปทุมธานี (1) | ปทุมธานี | 77.5 |
|
ห้วยโป่ง (1) | ระยอง | 72.4 |
|
ทุ่งช้าง (2) | น่าน | 56.4 |
|
กำแพงแสน (1) | นครปฐม | 52.1 |
|
14/09/2553 |
หนองคาย | หนองคาย | 69.6 |
วิเชียรบุรี | เพชรบูรณ์ | 67.7 |
|
อุบลราชธานี | อุบลราชธานี | 57.1 |
|
อยุธยา (1) | พระนครศรีอยุธยา | 55.0 |
|
ลำพูน | ลำพูน | 54.1 |
|
13/09/2553 |
ลำพูน | ลำพูน | 86.9 |
ชัยนาท | ชัยนาท | 76.0 |
|
อุบลราชธานี | อุบลราชธานี | 61.9 |
|
เชียงราย | เชียงราย | 61.1 |
|
11/09/2553 |
ห้วยโป่ง (1) | ระยอง | 83.2 |
บางนา (1) | กรุงเทพมหานคร | 79.7 |
|
กมลาไสย (2) | กาฬสินธุ์ | 68.1 |
|
ท่าเรือกรุงเทพฯ | กรุงเทพมหานคร | 63.0 |
|
พลิ้ว | จันทบุรี | 61.1 |
|
จันทบุรี | จันทบุรี | 60.2 |
|
แม่สะเรียง | แม่ฮ่องสอน | 55.4 |
|
ปราจีนบุรี | ปราจีนบุรี | 50.9 |
|
ฉะเชิงเทรา (1) | ฉะเชิงเทรา | 50.1 |
|
10/09/2553 |
เชียงราย (1) | เชียงราย | 87.6 |
นครราชสีมา | นครราชสีมา | 82.9 |
|
เชียงราย | เชียงราย | 52.0 |
|
9/09/2553 |
สกลนคร (1) | สกลนคร | 115.4 |
สกลนคร | สกลนคร | 84.4 |
|
นครพนม (1) | นครพนม | 78.8 |
|
ลำปาง (1) | ลำปาง | 52.0 |
|
5/09/2553 |
นครพนม (1) | นครพนม | 100.8 |
ลพบุรี | ลพบุรี | 77 |
|
นครพนม | นครพนม | 60.3 |
|
คลองใหญ่ | ตราด | 53.6 |
|
4/09/2553 |
อุบลราชธานี (1) | อุบลราชธานี | 79.3 |
สุพรรณบุรี | สุพรรณบุรี | 74.2 |
|
ปทุมธานี (1) | ปทุมธานี | 59.6 |
|
กำแพงแสน (1) | นครปฐม | 51.9 |
|
อู่ทอง (1) | กาญจนบุรี | 50.8 |
|
3/09/2553 |
ปทุมธานี (1) | ปทุมธานี | 180.5 |
อุบลราชธานี | อุบลราชธานี | 93.5 |
|
บัวชุม (2) | เพชรบูรณ์ | 92.7 |
|
ท่าเรือกรุงเทพฯ | กรุงเทพมหานคร | 77.8 |
|
ตากฟ้า | นครสวรรค์ | 75.6 |
|
ศูนย์สิริกิตต์ | กรุงเทพมหานคร | 73.5 |
|
ลพบุรี | ลพบุรี | 72.2 |
|
สอท.ท่าตูม* | สุรินทร์ | 68.8 |
|
ปราจีนบุรี | ปราจีนบุรี | 59.4 |
|
วิเชียรบุรี | เพชรบูรณ์ | 50.8 |
|
อุบลราชธานี (1) | อุบลราชธานี | 50.7 |
|
2/09/2553 |
ท่าวังผา (2) | น่าน | 111.5 |
เชียงราย (1) | เชียงราย | 62.2 |
|
นครราชสีมา | นครราชสีมา | 51.8 |
การเตือนภัยปริมาณฝนผ่านโทรศัพท์มือถือ (sms) จากระบบโทรมาตรขนาดเล็ก
วันที่
|
เวลาที่เตือนภัย
|
ช่วงเวลาฝนสะสม
|
สถานที่ |
ปริมาณฝน (มม.) | สถานะการเตือนภัย
|
29/09/2553 |
2:00:00 |
ฝน29/07-30/02น. |
ต.ป่าคา จ.น่าน | 65.8 | เฝ้าระวังสูงสุด |
28/09/2553 |
21:00:00 |
ฝน20-21น. |
ต.หนองบอนแดง จ.ชลบุรี | 36.0 | เฝ้าระวังสูงสุด |
21:00:00 |
ฝน20-21น. |
ต.หนองบอนแดง จ.ชลบุรี | 41.8 | วิกฤต |
|
27/09/2553 |
23:00:00 |
ฝน22-23น. |
ต.วังเหนือ จ.ลำปาง | 38.6 | เฝ้าระวังสูงสุด |
22:00:00 |
ฝน20-21น. |
ต.แขวงสามวาตะวันตก จ.กรุงเทพมหานคร | 36.4 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
17:00:00 |
ฝน16-17น. |
ต.แม่สรวย จ.เชียงราย | 44.4 | วิกฤต |
|
16:00:00 |
ฝน15-16น. |
ต.ดงมะดะ จ.เชียงราย | 43.0 | วิกฤต |
|
2:00:00 |
ฝน27/07-28/01น. |
ต.เวียงชัย จ.เชียงราย | 89.2 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
2:00:00 |
ฝน01-02น. |
ต.เม็งราย จ.เชียงราย | 42.2 | วิกฤต |
|
2:00:00 |
ฝน27/07-28/02น. |
ต.เม็งราย จ.เชียงราย | 85.2 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
26/09/2553 |
19:00:00 |
ฝน18-19น. |
ต.บางขุนกอง จ.นนทบุรี | 36.2 | เฝ้าระวังสูงสุด |
18:00:00 |
ฝน17-18น. |
ต.ปะแสนทอง จ.ลำปาง | 40.4 | วิกฤต |
|
2:00:00 |
ฝน01-02น. |
ต.หนองสรวง จ.อุทัยธานี | 44.6 | วิกฤต |
|
2:00:00 |
ฝน00-01น. |
ต.ในเมือง จ.เพชรบูรณ์ | 39.6 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
2:00:00 |
ฝน00-01น. |
ต.ในเมือง จ.เพชรบูรณ์ | 41.4 | วิกฤต |
|
23/09/2553 |
18:00:00 |
ฝน17-18น. |
ต.ขุนยวม จ.แม่ฮ่องสอน | 45.0 | วิกฤต |
16:00:00 |
ฝน15-16น. |
ต.เชียงม่วน จ.พะเยา | 35.0 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
8:00:00 |
ฝนวานนี้ |
ต.แสนทอง จ.น่าน | 96.4 | วิกฤต |
|
5:00:00 |
ฝน04-05น. |
หนองคาย | 40.8 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
5:00:00 |
ฝน04-05น. |
ต.จุมพล จ.หนองคาย | 41.0 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
2:00:00 |
ฝน01-02น. |
ต.สังคม จ.หนองคาย | 40.4 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
22/09/2553 |
22:00:00 |
ฝน21-22น. |
ต.เมืองสวรรคโลก จ.สุโขทัย | 35.4 | วิกฤต |
22:00:00 |
ฝน20-21น. |
ต.เมืองสวรรคโลก จ.สุโขทัย | 33.2 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
19:00:00 |
ฝน18-19น. |
ต.บ้านเชียง จ.อุดรธานี | 43.6 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
4:00:00 |
ฝน02-03น. |
ต.ป่าคา จ.น่าน | 31.8 | วิกฤต |
|
3:00:00 |
ฝน02-03น. |
ต.ป่าคา จ.น่าน | 29.8 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
18/09/2553 |
23:00:00 |
ฝน22-23น. |
ต.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี | 41.4 | วิกฤต |
17:00:00 |
ฝน15-16น. |
ต.หนองไร่ จ.ระยอง | 38.0 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
17:00:00 |
ฝน16-17น. |
ต.หนองไร่ จ.ระยอง | 40.2 | วิกฤต |
|
8:00:00 |
ฝนวานนี้ |
ต.แขวงลาดยาว จ.กรุงเทพมหานคร | 115.8 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
17/09/2553 |
13:00:00 |
ฝน12-13น. |
ต.เนินมะปราง จ.พิษณุโลก | 41.8 | วิกฤต |
7:00:00 |
ฝน06-07น. |
ต.ตาลาน จ.พระนครศรีอยุธยา | 36.8 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
16/09/2553 |
23:00:00 |
ฝน22-23น. |
ต.บ้านไร่ จ.อุทัยธานี | 39.2 | เฝ้าระวังสูงสุด |
17:00:00 |
ฝน16-17น. |
ต.บ้านใหม่ จ.นครราชสีมา | 46.8 | วิกฤต |
|
15:00:00 |
ฝน14-15น. |
แพร่ | 35.2 | วิกฤต |
|
14:00:00 |
ฝน13-14น. |
ต.วังน้ำเย็น จ.สระแก้ว | 37.4 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
14:00:00 |
ฝน13-14น. |
ต.วังน้ำเย็น จ.สระแก้ว | 42.8 | วิกฤต |
|
14:00:00 |
ฝน13-14น. |
แพร่ | 31.6 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
8:00:00 |
ฝนวานนี้ |
ต.สะเนียน จ.น่าน | 68.9 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
5:00:00 |
ฝน03-04น. |
ต.ในเมือง จ.พิจิตร | 35.2 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
4:00:00 |
ฝน16/07-17/04น. |
ต.ในเมือง จ.พิจิตร | 71.4 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
15/09/2553 |
22:00:00 |
ฝน20-21น. |
ต.นิคมกระเสียว จ.สุพรรณบุรี | 35.2 | เฝ้าระวังสูงสุด |
21:00:00 |
ฝน20-21น. |
ต.สังคม จ.หนองคาย | 47.2 | วิกฤต |
|
14:00:00 |
ฝน13-14น. |
ต.บ้านไร่ จ.อุทัยธานี | 38.6 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
14:00:00 |
ฝน13-14น. |
ต.วัดจันทร์ จ.พิษณุโลก | 49.4 | วิกฤต |
|
8:00:00 |
ฝนวานนี้ |
ต.ป่าแลวหลวง จ.น่าน | 94.1 | วิกฤต |
|
8:00:00 |
ฝนวานนี้ |
ต.หนองกะท้าว จ.พิษณุโลก | 82.5 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
8:00:00 |
ฝนวานนี้ |
ต.ขุนฝาง จ.อุตรดิตถ์ | 84.9 | วิกฤต |
|
6:00:00 |
ฝน15/07-16/06น. |
ต.บ้านไร่ จ.อุทัยธานี | 96.0 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
3:00:00 |
ฝน02-03น. |
ต.หนองสรวง จ.อุทัยธานี | 41.0 | วิกฤต |
|
3:00:00 |
ฝน02-03น. |
ต.หนองสรวง จ.อุทัยธานี | 35.4 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
14/09/2553 |
18:00:00 |
ฝน16-17น. |
ต.คำโพน จ.อำนาจเจริญ | 41.6 | เฝ้าระวังสูงสุด |
7:00:00 |
ฝน14/07-15/06น. |
ต.ในเวียง จ.น่าน | 80.6 | วิกฤต |
|
5:00:00 |
ฝน14/07-15/05น. |
ต.บ้านแก่ง จ.อุตรดิตถ์ | 70.2 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
4:00:00 |
ฝน14/07-15/04น. |
ต.ศรีพนมมาศ จ.อุตรดิตถ์ | 121.0 | วิกฤต |
|
3:00:00 |
ฝน01-02น. |
ต.ในเวียง จ.น่าน | 37.2 | วิกฤต |
|
3:00:00 |
ฝน14/07-15/03น. |
ต.ในเวียง จ.น่าน | 70.6 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
2:00:00 |
ฝน01-02น. |
ต.ในเวียง จ.น่าน | 28.0 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
2:00:00 |
ฝน14/07-15/02น. |
ต.ศรีพนมมาศ จ.อุตรดิตถ์ | 77.8 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
2:00:00 |
ฝน00-01น. |
ต.ศรีพนมมาศ จ.อุตรดิตถ์ | 52.6 | วิกฤต |
|
1:00:00 |
ฝน00-01น. |
ต.ศรีพนมมาศ จ.อุตรดิตถ์ | 38.6 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
13/09/2553 |
21:00:00 |
ฝน07-21น. |
ต.วัดโบสถ์ จ.พิษณุโลก | 70.8 | เฝ้าระวังสูงสุด |
20:00:00 |
ฝน19-20น. |
ต.วัดโบสถ์ จ.พิษณุโลก | 51.8 | วิกฤต |
|
8:00:00 |
ฝนวานนี้ |
ต.ป่าพลู จ.ลำพูน | 86.9 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
7:00:00 |
ฝนวานนี้ |
ต.โคกก่อง จ.หนองคาย | 91.6 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
12/09/2553 |
22:00:00 |
ฝน20-21น. |
ต.แจ้ซ้อน จ.ลำปาง | 41.6 | วิกฤต |
21:00:00 |
ฝน19-20น. |
ต.บ้านธิ จ.ลำพูน | 35.8 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
15:00:00 |
ฝน14-15น. |
ต.ริมกก จ.เชียงราย | 35.4 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
15:00:00 |
ฝน14-15น. |
ต.ริมกก จ.เชียงราย | 46.0 | วิกฤต |
|
11/09/2553 |
17:00:00 |
ฝน16-17น. |
ต.หนองสรวง จ.อุทัยธานี | 43.6 | วิกฤต |
10/09/2553 |
23:00:00 |
ฝน22-23น. |
ต.เวียงใต้ จ.แม่ฮ่องสอน | 44.0 | วิกฤต |
23:00:00 |
ฝน07-23น. |
ต.เม็งราย จ.เชียงราย | 85.4 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
23:00:00 |
ฝน22-23น. |
ต.ชุมพร จ.ร้อยเอ็ด | 40.8 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
23:00:00 |
ฝน22-23น. |
ต.เวียงใต้ จ.แม่ฮ่องสอน | 38.2 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
22:00:00 |
ฝน21-22น. |
ต.เมืองสวรรคโลก จ.สุโขทัย | 42.6 | วิกฤต |
|
21:00:00 |
ฝน20-21น. |
ต.เมืองสวรรคโลก จ.สุโขทัย | 32.6 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
18:00:00 |
ฝน17-18น. |
ต.ตาลาน จ.พระนครศรีอยุธยา | 37.8 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
18:00:00 |
ฝน17-18น. |
ต.ตาลาน จ.พระนครศรีอยุธยา | 47.2 | วิกฤต |
|
17:00:00 |
ฝน16-17น. |
ต.ด่านจาก จ.นครราชสีมา | 40.6 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
12:00:00 |
ฝน07-11น. |
ต.โรงช้าง จ.เชียงราย | 87.8 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
10:00:00 |
ฝน08-09น. |
ต.โรงช้าง จ.เชียงราย | 44.0 | วิกฤต |
|
9:00:00 |
ฝน08-09น. |
ต.เม็งราย จ.เชียงราย | 38.0 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
8:00:00 |
ฝนวานนี้ |
ต.โป่งแพร่ จ.เชียงราย | 87.6 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
5:00:00 |
ฝน10/07-11/05น. |
ต.โรงช้าง จ.เชียงราย | 120.4 | วิกฤต |
|
3:00:00 |
ฝน10/07-11/02น. |
ต.เวียง จ.เชียงราย | 92.2 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
1:00:00 |
ฝน00-01น. |
ต.พบพระ จ.ตาก | 33.8 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
9/09/2553 |
19:00:00 |
ฝน18-19น. |
ต.ป่าพุทรา จ.กำแพงเพชร | 39.2 | วิกฤต |
19:00:00 |
ฝน18-19น. |
ต.ป่าพุทรา จ.กำแพงเพชร | 31.8 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
12:00:00 |
ฝน07-12น. |
ต.เวียงชัย จ.เชียงราย | 86.4 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
11:00:00 |
ฝน10-11น. |
ต.เวียงชัย จ.เชียงราย | 45.8 | วิกฤต |
|
11:00:00 |
ฝน09-10น. |
ต.เวียงชัย จ.เชียงราย | 38.2 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
8:00:00 |
ฝนวานนี้ |
ต.นาใน จ.สกลนคร | 115.4 | วิกฤต |
|
5:00:00 |
ฝน09/07-10/04น. |
ต.เวียงชัย จ.เชียงราย | 120.4 | วิกฤต |
|
8/09/2553 |
19:00:00 |
ฝน18-19น. |
ต.หนองไผ่ จ.เพชรบูรณ์ | 51.4 | วิกฤต |
19:00:00 |
ฝน18-19น. |
ต.หนองไผ่ จ.เพชรบูรณ์ | 36.4 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
4:00:00 |
ฝน03-04น. |
ต.ห้างฉัตร จ.ลำปาง | 48.2 | วิกฤต |
|
4:00:00 |
ฝน03-04น. |
ต.ห้างฉัตร จ.ลำปาง | 36.4 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
3:00:00 |
ฝน01-02น. |
ต.คูสะคาม จ.สกลนคร | 41.4 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
2:00:00 |
ฝน01-02น. |
ต.ในเมือง จ.อุตรดิตถ์ | 47.0 | วิกฤต |
|
1:00:00 |
ฝน00-01น. |
ต.ในเมือง จ.อุตรดิตถ์ | 37.0 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
1:00:00 |
ฝน00-01น. |
ต.วังชิ้น จ.แพร่ | 33.0 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
6/09/2553 |
16:00:00 |
ฝน15-16น. |
ต.ขุนซ่อง จ.จันทบุรี | 35.8 | เฝ้าระวังสูงสุด |
16:00:00 |
ฝน15-16น. |
ต.ขุนซ่อง จ.จันทบุรี | 51.2 | วิกฤต |
|
5/09/2553 |
18:00:00 |
ฝน17-18น. |
ต.นาอาน จ.เลย | 44.0 | เฝ้าระวังสูงสุด |
8:00:00 |
ฝนวานนี้ |
ต.กุตาไก้ จ.นครพนม | 100.8 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
3:00:00 |
ฝน02-03น. |
ต.คลองใหญ่ จ.ตราด | 49.6 | วิกฤต |
|
3:00:00 |
ฝน02-03น. |
ต.คลองใหญ่ จ.ตราด | 39.6 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
4/09/2553 |
19:00:00 |
ฝน18-19น. |
ต.นาหนองทุ่ม จ.ชัยภูมิ | 48.6 | วิกฤต |
19:00:00 |
ฝน18-19น. |
ต.นาหนองทุ่ม จ.ชัยภูมิ | 42.8 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
3/09/2553 |
9:00:00 |
ฝนวานนี้ |
ต.ท่าโรง จ.เพชรบูรณ์ | 92.7 | เฝ้าระวังสูงสุด |
9:00:00 |
ฝนวานนี้ |
ต.บุ่งมะแลง จ.อุบลราชธานี | 93.5 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
9:00:00 |
ฝนวานนี้ |
ต.คลองหก จ.ปทุมธานี | 180.5 | วิกฤต |
|
2/09/2553 |
23:00:00 |
ฝน07-23น. |
ปทุมธานี | 95.6 | เฝ้าระวังสูงสุด |
21:00:00 |
ฝน20-21น. |
ต.เขาพระ จ.นครนายก | 40.0 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
17:00:00 |
ฝน15-16น. |
ต.ผาเลือด จ.อุตรดิตถ์ | 28.0 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
16:00:00 |
ฝน14-15น. |
ต.โพนทอง จ.กาฬสินธุ์ | 40.6 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
16:00:00 |
ฝน14-15น. |
ต.โพนทอง จ.กาฬสินธุ์ | 47.8 | วิกฤต |
|
8:00:00 |
ฝนวานนี้ |
ต.แสนทอง จ.น่าน | 111.5 | วิกฤต |
|
5:00:00 |
ฝน03-04น. |
ต.ไม้รูด จ.ตราด | 37.6 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
1/09/2553 |
19:00:00 |
ฝน18-19น. |
ต.แม่สะเรียง จ.แม่ฮ่องสอน | 40.8 | วิกฤต |
19:00:00 |
ฝน17-18น. |
ต.แม่สะเรียง จ.แม่ฮ่องสอน | 35.6 | เฝ้าระวังสูงสุด |
|
15:00:00 |
ฝน14-15น. |
ต.อมก๋อย จ.เชียงใหม่ | 44.0 | วิกฤต |
|
1:00:00 |
ฝน01/07-02/01น. |
ต.ป่าคา จ.น่าน | 65.8 | เฝ้าระวังสูงสุด |
ข้อมูลระดับน้ำจากสถานีวัดระดับน้ำท่า กรมชลประทาน | ||
(E.20A)แนวสะพาน อ.มหาชนะชัย จ.ยโสธร (ระดับตลิ่ง 9.5 ม.) |
(E.23)บ้านค่าย อ.เมือง จ.ชัยภูมิ (ระดับตลิ่ง 8.3 เมตร) |
(M.6A) บ้านสตึก อ.สตึก จ.บุรีรัมย์ (ระดับตลิ่ง 5.42 เมตร) |
จากกราฟแสดงข้อมูลระดับน้ำจากสถานีตรวจวัดน้ำท่ากรมชลประทาน พบว่าแม่น้ำสายหลักหลายสายเกิดน้ำล้นตลิ่ง โดยเฉพาะแม่น้ำยมที่มีน้ำล้นตลิ่งในหลายจุด |
ปริมาณน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยาและแม่น้ำป่าสัก | |
จากกราฟแสดงปริมาณน้ำไหลผ่านรายวันที่สถานีวัดน้ำท่าในแม่น้ำเจ้าพระยา ช่วงเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2553 พบว่าปริมาณน้ำเริ่มเพิ่มสูงขึ้นตั้งแต่เดือนสิงหาคม โดยปริมาณน้ำไหลผ่านสูงสุดที่สถานีค่ายจิรประวัติ อ.เมือง จ.นครสวรรค์ อยู่ที่ 1,920 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ในวันที่ 21 กันยายน ส่วนที่สถานีท้ายเขื่อนเจ้าพระยา อ.สรรพยา จ.ชัยนาท มีปริมาณน้ำไหลผ่านสูงสุด อยู่ที่ 2,253 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ในวันที่ 22 กันยายน 2553 โดยปริมาณน้ำที่สถานีท้ายเขื่อนเจ้าพระยาเริ่มมากกว่าที่สถานีค่ายจิรประวัติ ตั้งแต่วันที่ 14 กันยายน จนถึงวันที่ 27 กันยายน และอัตราน้ำไหลผ่านที่เขื่อนเจ้าพระยาเริ่มสูงเกิน 2000 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ตั้งแต่วันที่ 19 กันยายน จนถึง 25 กันยายน ส่วนที่สถานีบางไทร อ.บางไทร จ.พระนครศรีอยุธยา มีปริมาณน้ำไหลผ่านสุงสุดอยู่ที่ 2,291 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ในวันที่ 22 กันยายน | |
จากกราฟแสดงปริมาณน้ำไหลผ่านรายวันที่สถานีวัดน้ำท่าในแม่น้ำป่าสัก ช่วงเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2553 พบว่าปริมาณน้ำเริ่มเพิ่มสูงขึ้นในเดือนสิงหาคม โดยปริมาณน้ำไหลผ่านสุงสุดที่สถานี S.42 บ้านบ่อวัง อ.วิเชียรบุรี จ.เพชรบูรณ์ อยู่ที่ 367 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ในวันที่ 6 กันยายน ส่วนที่เขื่อนพระรามหก อ.ท่าเรือ จ.พระนครศรีอยุธยา มีปริมาณน้าไหลผ่านสูงสุด อยู่ที่ 524 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ในวันที่ 6 กันยายน จากกราฟแสดงปริมาณน้ำไหลผ่านในแม่น้ำเจ้าพระยาและแม่น้ำป่าสัก พบว่ามีน้ำเหนือไหลลงสู่ภาคกลางค่อนข้างมาก ประกอบกับในช่วงเวลาดังกล่าวมีฝนตกค่อนข้างมากในพื้นที่ภาคกลาง ทำให้ปริมาณน้ำในพื้นที่ยิ่งเพิ่มมากขึ้น และส่งผลให้เกิดน้ำท่วมพื้นที่ภาคกลางในหลายจังหวัด เช่น ชัยนาท นครสวรรค์ อุทัยธานี ลพบุรี สระบุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี |
ข้อมูลปริมาณน้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ | |
ปริมาณน้ำไหลลงอ่างเขื่อนภูมิพล |
ปริมาณน้ำไหลลงอ่างเขื่อนสิริกิติ์ |
ปริมาณน้ำไหลลงอ่างเขื่อนแม่งัด |
ปริมาณน้ำไหลลงอ่างเขื่อนกิ่วลม |
ปริมาณน้ำไหลลงอ่างเขื่อนแควน้อย |
ปริมาณน้ำไหลลงอ่างเขื่อนป่าสัก |
ปริมาณน้ำไหลลงอ่างเขื่อนศรีนครินทร์ |
ปริมาณน้ำไหลลงอ่างเขื่อนวชิราลงกรณ์ |
ปริมาณน้ำไหลลงอ่างเขื่อนลำปาว |
ปริมาณน้ำไหลลงอ่างเขื่อนอุบลรัตน์ |
จากการที่มีฝนตกค่อนข้างมากอย่างต่อเนื่องในพื้นที่ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือช่วงเดือนสิงหาคมถึงเดือนกันยายน ส่งผลให้ปริมาณน้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่เพิ่มสูงขึ้นค่อนข้างมาก โดยอ่างเก็บน้ำที่มีปริมาณน้ำกักเก็บมากกว่า 80% ที่ รนก.ณ วันที่ 30 กันยายน ได้แก่ อ่างเก็บน้ำเขื่อนแม่งัด(91%) , กิ่วคอหมา(99%) , แควน้อย(91%) , ลำปาว(94%) , ลำพระเพลิง(92%) , อุบลรัตน์(84%) , ห้วยหลวง(100%) , ป่าสัก(86%) , กระเสียว(107%) , หนองปลาไหล(97%) และประแสร์(85%) และหากพิจารณาถึงปริมาณน้ำไหลลงอ่างเก็บน้ำช่วงเดือนกันยายน พบว่า เขื่อนภูมิพลมีปริมาณน้ำไหลลงอ่างประมาณ 1,509.77 ล้านลูกบาศก์เมตร ส่วนเขื่อนสิริกิติ์มีปริมาณน้ำในลงอ่างประมาณ 1,855.93 ล้านลูกบาศก์เมตร รายละเอียดเพิ่มเติมตามตารางด้านล่าง |
เขื่อน |
ปริมาณน้ำไหลลงสะสม เดือน ก.ย..53 |
ปริมาณน้ำเพิ่มขึ้นจากเดือน ส.ค.53 |
ปริมาณน้ำกักเก็บวันที่ 30 ก.ย. 53 |
||
ล้าน ลบ.ม. |
คิดเป็น%ที่ รนก. |
ล้าน ลบ.ม. |
คิดเป็น % ที่ รนก. |
||
ภาคเหนือ |
|||||
ภูมิพล |
1509.77 |
1444 |
11 |
6,427 |
48 |
สิริกิติ์ |
1855.93 |
1778 |
19 |
7,380 |
78 |
แม่งัด |
115.22 |
67 |
26 |
240 |
91 |
กิ่วลม |
197.77 |
-10 |
-9 |
78 |
70 |
แม่กวง |
44.14 |
42 |
16 |
131 |
50 |
กิ่วคอหมา |
131.48 |
66 |
39 |
168 |
99 |
แควน้อย |
470.22 |
305 |
40 |
701 |
91 |
รวมภาคเหนือ |
4324.53 |
3692 |
15 |
15,125 |
62 |
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ |
|||||
ลำปาว |
755.39 |
195 |
14 |
1,340 |
94 |
ลำตะคอง |
64.8 |
59 |
19 |
172 |
55 |
ลำพระเพลิง |
61.06 |
33 |
30 |
101 |
92 |
น้ำอูน |
113.42 |
99 |
19 |
376 |
72 |
อุบลรัตน์ |
1222.9 |
596 |
25 |
2,036 |
84 |
สิรินธร |
291.67 |
221 |
12 |
1,289 |
66 |
จุฬาภรณ์ |
65.2 |
37 |
22 |
130 |
79 |
ห้วยหลวง |
43.02 |
18 |
15 |
118 |
100 |
ลำนางรอง |
6.46 |
0 |
0 |
47 |
39 |
มูลบน |
18.63 |
13 |
9 |
54 |
38 |
น้ำพุง |
46.68 |
31 |
19 |
128 |
78 |
ลำแซะ |
42.58 |
29 |
11 |
153 |
56 |
รวมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ |
2731.81 |
1331 |
18 |
5,944 |
77 |
ภาคกลาง |
|||||
ป่าสักฯ |
1038.51 |
390 |
40 |
827 |
86 |
กระเสียว |
171.01 |
123 |
51 |
257 |
107 |
ทับเสลา |
49.11 |
49 |
31 |
107 |
67 |
รวมภาคกลาง |
1258.63 |
562 |
42 |
1,191 |
88 |
ภาคตะวันตก |
|||||
ศรีนครินทร์ |
894.92 |
553 |
3 |
13,339 |
75 |
วชิราลงกรณ์ |
792.24 |
711 |
8 |
4,688 |
53 |
รวมภาคตะวันตก |
1687.16 |
1264 |
5 |
18,027 |
68 |
ภาคตะวันออก |
|||||
บางพระ |
14.11 |
11 |
10 |
65 |
56 |
หนองปลาไหล |
38.84 |
14 |
8 |
159 |
97 |
คลองสียัด |
78.16 |
78 |
19 |
309 |
74 |
คลองท่าด่าน |
49.95 |
51 |
23 |
163 |
73 |
ประแสร์ |
47.98 |
7 |
2 |
212 |
85 |
รวมภาคตะวันออก |
229.04 |
161 |
13 |
908 |
77 |
ภาคใต้ |
|||||
แก่งกระจาน |
85.98 |
41 |
6 |
236 |
33 |
ปราณบุรี |
25.66 |
8 |
3 |
96 |
28 |
รัชชประภา |
213.94 |
55 |
1 |
3,515 |
62 |
บางลาง |
186.16 |
83 |
6 |
787 |
54 |
รวมภาคใต้ |
511.74 |
187 |
2 |
4,634 |
57 |
รวมทั้งประเทศ |
10742.91 |
7197 |
10 |
45,829 |
66 |
ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมแสดงพื้นที่น้ำท่วมจาก GISTDA (คลิ๊กที่ภาพเพื่อแสดงภาพเต็ม)
ข่าวจากหนังสือพิมพ์ -------------------------------------------------------------------------------------- อ่างทอง-เมืองกาญจน์ น้ำยังท่วมชาวบ้านเดือดร้อนหนัก [ ไทยรัฐ : 22 ก.ย.53 ] ขณะที่เกษตรกรที่ปลูกกล้วยหอม ต้องรีบขุดหน่อกล้วยมาใส่ถุงชำเอาไว้ และขนย้ายไปไว้ในที่สูงเพื่อไม่ให้ถูก น้ำท่วมตายหมด ส่วนทางด้าน อ.เมืองอ่างทอง ระดับน้ำเริ่มลิ้นตลิ่งไหลบ่าเข้าท่วมพื้นที่ริมตลิ่ง ม.1 ต.จำปาหล่อ และขณะนี้จังหวัดอ่างทองมีพื้นที่ที่ถูกน้ำท่วมเพิ่มเป็น 2 อำเภอ คือ.จำปาหล่อ อ.เมืองอ่างทอง และที่ ต.โผงเผง อ.ป่าโมก จ.อ่างทอง ส่วนความคืบหน้า น้ำท่วมในพื้นที่ จ.กาญจนบุรี เมื่อเวลา 16.00น. วันเดียวกัน จากการที่มีฝนตกติดต่อกันเกือบ 10วันทำให้น้ำป่าไหลจากภูเขาลงสู่ห้วยลำอีซู ในพื้นที่ อ.หนองปรือ มารวมกับน้ำในห้วยลำตะเพินที่ไหลบ่าเข้ามาพื้นที่ตำบลหลุมรังที่มีสภาพ พื้นที่ต่ำเป็นแอ่งกระทะ จำนวนน้ำมากเข้าท่วมพื้นที่ชาวบ้านครอบคลุม 11 หมู่บ้าน คือ หมู่ที่ 2,3,4,7,10,11,15,16,17,1,2 ราษฎรจำนวนประมาณ 500 ครัวเรือนได้รับความเสียหายน้ำไหลบ่าเข้าท่วมบ้านเรือน บางครัวเรือนต้องช่วยกันอพยพหนีน้ำ ส่วนพื้นที่ทำกินได้รับผลกระทบประมาณ 10,000ไร่ -------------------------------------------------------------------------------------- เมื่อวันที่ 12 ก.ย. ที่ จ.เชียงราย ตลอดคืนที่ผ่านมามีฝนตกลงมาอย่างต่อเนื่อง มีน้ำท่วมขังหลายอำเภอ โดยเฉพาะที่ อ.แม่สรวย ถนนสายแม่สรวย-วาวี บริเวณหลักกิโลเมตรที่ 13 บ้านทุ่งพร้าว ต.วาวี ถนนลาดยาง ที่ลัดเลาะไปตามแม่น้ำสรวยถูกน้ำป่าไหลหลากลงมา ทำให้ถนนขาด และทรุดถล่มลงอย่างต่อเนื่องเพิ่มกว่า 100 เมตร ลึกประมาณ 20 เมตร ทาง อบต.วาวี จึงได้จัดเจ้าหน้าที่ชุดรักษาความปลอดภัยหมู่บ้าน (ชรบ.) จำนวนหนึ่งนำเต้นท์ไปกางไว้ พร้อมกับนำเชือกฟางสีแดงไปกั้นถนนบริเวณที่ขาดทั้ง 2 ด้าน ตอนกลางคืนเจ้าหน้าที่ ชรบ. จะพากันเข้าเวรนำเอาเศษไม้แห้งมาก่อกองไฟไว้ เพื่อบอกจุดถนนขาด และป้องกันไม่ให้ชาวบ้านขับรถเข้ามาในบริเวณดังกล่าว พร้อมทั้งนำป้ายประกาศเตือนห้ามเข้าไปไว้บริเวณสามแยกดอยวาวีกับดอยช้างแล้ว -------------------------------------------------------------------------------------- จากการที่ได้เกิดฝนตกลงมาอย่างหนักติดต่อกันที่บนเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์เป็นเวลา 2–3 วัน ทำให้เกิดน้ำป่าจากเทือกเขาค้อไหลหลากลงมาเข้าท่วมบ้านเรือนราษฎรหมู่ที่ 1,2,4,8 และ 12 ตำบลท่าพล และอีกหลายชุนชนในเขตเทศบาลตำบลท่าพล อำเภอเมือง โดยระดับน้ำได้ท่วมสูงประมาณ 40-50 เซนติเมตร จนชาวบ้านต้องเร่งเก็บสิ่งของไว้บนที่สูง โดยเฉพาะถนนสายสระบุรี-หล่มสัก บริเวณหลักกิโลเมตรที่ 237 – 238 หมู่ 8 ใกล้สี่แยกบ้านคลองมะนาว ตำบลท่าพล อำเภอเมือง ถูกน้ำท่วมสูงประมาณ 30 เซนติเมตร เป็นระยะทางยาวเกือบ 500 เมตร -------------------------------------------------------------------------------------- นายวิทิต ปิ่นนิกร นายอำเภอท่าเรือ จ.พระนครศรีอยุธยา พร้อมนายชโลม โปลิตานนท์ นายกเทศมนตรีเทศบาลตำบลท่าเรือ พร้อมเจ้าหน้าที่กว่า 30 คน นำกระสอบทรายวางกั้นริมแม่น้ำป่าสัก รวมทั้งเร่งสูบน้ำท่วมผิวการจราจรในระดับ 30 เซนติเมตร บริเวณใต้สะพานจักรีท้ายตลาดเทศบาลตำบลท่าเรือ ช่วงเย็นวันนี้ (5 ก.ย.) เนื่องจากแม่น้ำป่าสักที่ไหลผ่าน อ.ท่าเรือ มีปริมาณน้ำเอ่อสูง ขณะที่เขื่อนพระรามหก ต.ท่าหลวง อ.ท่าเรือ ซึ่งเป็นเขื่อนรับน้ำป่าสักเปิดประตูระบายน้ำทุกบาน เพื่อระบายน้ำลงสู่คลองระพีพัฒน์ นายวิทิต กล่าวว่า แม่น้ำป่าสักมีน้ำสูงขึ้นมาตั้งแต่วันที่ 3 ก.ย.เฉลี่ยวันละประมาณ 1 เมตร และวันนี้น้ำเลยจุดวิกฤตประมาณ 34 ซ.ม. อยู่ที่ระดับ 7.84 ม. ซึ่งน่าเป็นห่วง เนื่องจากน้ำเหนือเขื่อนมีปริมาณมาก ทำให้ต้องระบายแม่น้ำป่าสัก 400 ลบ.ม.ต่อวินาที และระบายน้ำที่รับมาจากชัยนาท อีก 100 ลบ.ม.ต่อวินาที ซึ่งน้ำทั้งหมดไหลลงสู่คลองระพีพัฒน์ และส่งผลต่อพื้นที่ อ.นครหลวง มีน้ำท่วมแล้วที่โรงเรียนใน ต.ท่าช้าง และแม่น้ำเจ้าพระยาก็สูงขึ้นเช่นกันท่วมวัดที่อยู่ริมน้ำ ส่วนหน้าวัดไชยวัฒนาราม โบราณสถานสำคัญมีการตั้งแนวบังเกอร์หมดแล้ว ระดับน้ำสูงขึ้นเหนือพื้นผิว 20 ซม. คาดว่ายังไม่ส่งผลกระทบ ขณะที่หมู่บ้านโปรตุเกตน้ำไหลเข้าบริเวณสถานที่จัดแสดงโครงกระดูก ซึ่งกรมศิลปากรได้เร่งสูบน้ำออกแล้ว -------------------------------------------------------------------------------------- วันนี้ 4 ก.ย. ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ที่จังหวัดลพบุรี ฝนได้ตกมาติดต่อกันมา3-4 วันทำให้น้ำป่าจากเทือกเขาเอราวัณ จากเทือกเขาพระพุทธ ในตำบลนิคมสร้างตนเอง อำเภอเมืองลพบุรี หลากเข้าท่วมถนนจอม พล.ป.เขตตำบลเขาสามยอด ติดต่อตำบลท่าศาลา สูงกว่า 50 ซ.ม. ระยะทางยาวกว่า 3 กิโลเมตรทำให้การคมนาคมบนถนนจอมพล ป.ติดยาว โดยเฉพาะที่ตลาดสดพันฉกาจน้ำท่วมสูงกว่า 50 ซ.ม ทำให้แม่ค้าขายสินค้าไม่ได้ -------------------------------------------------------------------------------------- ฝนตกหนักตั้งเมื่อตั้งแต่ 1 ก.ย.ส่งผลให้เกิดน้ำท่วมขังบ้านเรือนราษฎรในพื้นที่ต.หนองบัวศาลา อ.เมือง จ.นครราชสีมา ทำให้ 3 หมู่บ้าน ประกอบด้วย บ้านหนองตะลุมปุ๊กหมู่ที่ 8 บ้านหนองตะลุมปุ๊กใหม่ หมู่ที่ 10 และบ้านหนองบัวศาลาหมู่ที่ 2 รวมกว่า 300 หลังคาเรือนต้องจมอยู่ใต้น้ำ โดยระดับน้ำท่วมสูงประมาณ 50 เซนติเมตร จนถึง 1 เมตร โดยเฉพาะที่หมู่บ้านจัดสรรจามจุรี ระดับน้ำท่วมสูงเกือบ 1 เมตร รถยนต์และรถจักรยานยนต์ ไม่สามารถเข้าออกภายในหมู่บ้านได้ ผู้ที่อาศัยอยู่ภายในหมู่บ้านต้องจอดรถทิ้งไว้ริมถนนสาย ราชสีมา - โชคชัย ซึ่งอยู่ปากทางเข้าหมู่บ้าน ทางเจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนตำบลหนองบัวศาลาต้องปิดถนน 1 เลนเพื่อใช้เป็นที่จอดรถให้กับประชาชน ส่งผลให้การจราจรติดกันอย่างมาก อย่างไรก็ตาม น้ำที่ไหลเข้าท่วมในพื้นที่ต.หนองบัวศาลา ในครั้งนี้ เป็นน้ำฝนที่ไหลจากพื้นที่ อ.ปักธงชัย และ อ.สูงเนินบางส่วน มารวมกันเนื่องจาก ต.หนองบัวศาลามีภูมิประเทศเป็นแอ่งกระทะอยู่ในที่ลุ่ม ส่งผลให้กลายเป็นพื้นที่รองรับน้ำที่ไหลมารวมกันและเกิดปัญหาน้ำท่วมเป็นประจำทุกปีโดยปริมาณน้ำได้ไหลลงมารวมกันตั้งแต่เมื่อเวลาประมาณ 03.00 น. วันที่ 3 ก.ย. และกำลังเพิ่มปริมาณสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ล่าสุด ปริมาณน้ำได้ไหลข้ามถนนสาย ราชสีมา - โชคชัยเข้าท่วมวัดหนองตะลุมปุ๊กและโรงเรียนบ้านหนองตะลุมปุ๊ก จนทางโรงเรียนต้องประกาศหยุดเรียนกะทันหัน จนกว่าปริมาณน้ำจะเข้าสูงภาวะปกติ ขณะที่ทางอำเภอ และเจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนตำบลหนองบัวศาลา ก็ได้เร่งนำกระสอบทรายเข้าให้การช่วยเหลือพี่น้องประชาชนในเบื้องต้นแล้ว พร้อมประสานไปยังสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดนครราชสีมา ให้เร่งส่งเรือท้องแบน และอุปกรณ์ให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยมาสบทบอย่างเร่งด่วน ด้านจ.บึงกาฬ ระดับน้ำในแม่น้ำโขงเพิ่มสูงขึ้นวัดระดับได้ 11.90 เมตร ประกอบกับมีน้ำเหนือไหลบ่าลงมาทำให้ระดับน้ำเพิ่มสูงขึ้นอย่างเนื่องและไหลเข้าตามลำห้วยสาขานอกจากนี้น้ำโขงที่หนุนทำให้น้ำฝนที่ตกลงมาก็ระบายลงสู่แม่น้ำโขงไม่ได้ จึงเออล้นลำห้วยเข้าท่วมนาข้าวที่กำลังงอกงามหลังจากปักดำได้ประมาณ 1 เดือนส่งผลให้นาข้าวของชาวบ้านดอนยม บ้านคำหมื่น บ้านคำแสน และบ้านห้วยเซือมเหนือ ที่ปลูกข้าวในที่ลุ่มริมห้วยได้รับความเดือดร้อนจากนาข้าวถูกน้ำท่วมถ้ายังมีฝนตกลงมาและน้ำโขงหนุนอยู่ข้าวที่จมอยู่ใต้น้ำนานๆ ก็จะยืนต้นตายแน่ เช่นเดียวกับที่ จ.กาฬสินธุ์ ปัญหาน้ำท่วมเริ่มทวีความรุนแรงและสร้างความเดือดร้อนให้กับชาวบ้านหนักขึ้น โดยเฉพาะที่อ.ฆ้องชัย นาข้าวกว่า 5,500 ไร่ใน 3 ตำบล ถูกน้ำท่วมเสียหายยับเยิน ที่ อ.ฆ้องชัย เริ่มมีปัญหาน้ำท่วมเป็นบริเวณกว้างกินพื้นที่ใน 3 ตำบล คือตำบลฆ้องชัยพัฒนา ต.เหล่ากลาง และต.ลำชี โดยมี 8 หมู่บ้านที่ได้รับความเดือดร้อนหนัก ทั้งนี้น้ำได้หลหลากเข้าท่วมพื้นที่การเกษตรที่เป็นนาข้าวนาปีจมเสียหายเป็นบริเวณกว้างรวมทั้งสิ้นกว่า 5,500 ไร่ |
ข้อมูลอ้างอิง |