บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือและผลกระทบจากพายุ "มินดอลเล" (สิงหาคม2553)

ภาพเส้นทางพายุ

ในวันที่ 23 ส.ค. 53 เวลา 16.00 น. พายุโซนร้อน“มินดอนเล ” (Mindulle) บริเวณทะเลจีนใต้ตอนกลาง ห่างออกไปทางทิศตะวันออกของเมืองดานัง ประเทศเวียดนาม ประมาณ 180 กิโลเมตร หรือที่ละติจูด 16.4 องศาเหนือ ลองจิจูด 109.6 องศาตะวันออก มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 75 กิโลเมตรต่อชั่วโมง และได้เคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกค่อนทางเหนือด้วยความเร็วประมาณ 18 กิโลเมตรต่อชั่วโมง

ต่อมาในวันที่ 24 ส.ค.เวลา 04.00 น. พายุนี้ได้เคลื่อนตัวอยู่บริิเวณทะเลจีนใต้ตอนกลาง โดยมีศูนย์กลางอยู่ห่างประมาณ 150 กิโลเมตร ห่างออกไปทางทิศตะวันออกของเมืองดองฮอย ประเทศเวียดนาม หรือที่ละติจูด 17.8 องศาเหนือ ลองจิจูด 107.9 องศาตะวันออก มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 95 กิโลเมตรต่อชั่วโมง และเคลื่อนตัวทางทิศตะวันตกค่อนทางเหนือด้วยความเร็วประมาณ 18 กิโลเมตรต่อชั่วโมง หลังจากนั้นได้เคลื่อนขึ้นฝั่งประเทศเวียดนามตอนบนในคืนวันที่ 24 ส.ค.

ในวันที่ 25 ส.ค. พายุโซนร้อน“มินดอนเล ” ได้เคลื่อนตัวเข้าสู่บริเวณประเทศลาว และได้อ่อนกำลังลงเป็นพายุดีเปรสชัน โดยมีศูนย์กลางอยู่ห่างประมาณ 350 กิโลเมตรทางทิศตะวันออกของจังหวัดเชียงราย หรือที่ละติจูด 19.3 องศาเหนือ ลองจิจูด 103.6 องศาตะวันออก มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 55 กิโลเมตรต่อชั่วโมง และเคลื่อนตัวทางทิศตะวันตกค่อนทางเหนือด้วยความเร็วประมาณ 15 กิโลเมตรต่อชั่วโมง หลังจากนั้นได้อ่อนกำลังเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำในที่สุด ลักษณะเช่นนี้ทำให้บริเวณประเทศไทยตอนบนมีฝนตกชุกหนาแน่นและมีฝนตกหนักในหลายพื้นที่ โดยเฉพาะพื้นที่ในภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน

ที่มา : ภาพจากมหาวิทยาลัยฮาวาย เนื้อหาจากกรมอุตุนิยมวิทยา


ภาพดาวเทียม GOES-9

1/8/2553

2/8/2553

3/8/2553

4/8/2553

5/8/2553

6/8/2553

7/8/2553

8/8/2553

9/8/2553

10/8/2553

11/8/2553

12/8/2553

13/8/2553

14/8/2553

15/8/2553

16/8/2553

17/8/2553

18/8/2553

19/8/2553

20/8/2553

21/8/2553

22/8/2553

23/8/2553

24/8/2553

25/8/2553

26/8/2553

27/8/2553

28/8/2553

29/8/2553

30/8/2553

31/8/2553

จากภาพถ่ายดาวเทียม GOES-9 พบว่ามีกลุ่มเมฆปกคลุมพื้นที่ประเทศไทยตลอดทั้งเดือน โดยเฉพาะตอนบนของประเทศที่มีกลุ่มเมฆค่อนข้างหนาทำให้เกิดฝนตกหนักและน้ำท่วมในหลายพื้นที่ ประกอบกับช่วงวันที่ 23-25 ส.ค. พายุมินดอลเล ได้เคลื่อนตัวเข้าใกล้่ประเทศไทย ทำให้พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือมีปริมาณฝนเพิ่มขึ้นอีก ส่งผลให้เกิดน้ำท่วมเพิ่มขึ้นอีกในหลายพื้นที่

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม

ภาพแผนที่อากาศ

1/8/2553

2/8/2553

3/8/2553

4/8/2553

5/8/2553

6/8/2553

7/8/2553

8/8/2553

9/8/2553

10/8/2553


11/8/2553


12/8/2553

13/8/2553

14/8/2553

15/8/2553

16/8/2553

17/8/2553

18/8/2553

19/8/2553

20/8/2553

21/8/2553

22/8/2553

23/8/2553

24/8/2553

25/8/2553

26/8/2553

27/8/2553

28/8/2553

29/8/2553

30/8/2553

31/8/2553

จากภาพแผนที่อากาศกรมอุตุนิยมวิทยา ช่วงเดือนสิงหาคมมีร่องมรสุมพาดผ่านประเทศไทยตอนบน สลับกับมีหย่อมความกดอากาศต่ำปกคลุมภาคภาคเหนือและ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รวมทั้งลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ประเทศไทย และอ่าวไทยมีกำลังแรง ลักษณะเช่นนี้ทำให้ประเทศไทยมีฝนตกชุกหนาแน่นและมีฝนตกหนักบางแห่ง อีกทั้งในช่วงปลายเดือน พายุมินดอลเลได้เคลื่อนตัวเข้าประเทศไทยทางด้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่งผลให้บริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือมีฝนตกหนักเพิ่มมากยิ่งขึ้น ทำให้เกิดน้ำท่วมหนักในจังหวัดลำปาง พะเยา แพร่ น่าน อุตรดิตถ์ สุโขทัย พิจิตร มุกดาหาร หนองคาย

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม


ภาพเรดาร์กรมอุตุนิยมวิทยา
เรดาร์เชียงราย รัศมี 240 กิโลเมตร

2/8/2553
17:27GMT

3/8/2553
02:27GMT

5/8/2553
13:27GMT

6/8/2553
00:27GMT

8/8/2553
22:27GMT

9/8/2553
11:27GMT

10/8/2553
11:27GMT

11/8/2553
05:27GMT

13/8/2553
13:27GMT

16/8/2553
23:27GMT

17/8/2553
05:27GMT

20/8/2553
23:27GMT

21/8/2553
23:27GMT

22/8/2553
00:27GMT

24/8/2553
23:27GMT

25/8/2553
01:27GMT

26/8/2553
23:27GMT

27/8/2553
01:27GMT

28/8/2553
04:27GMT

29/8/2553
23:27GMT
เรดาร์พิษณุโลก รัศมี 240 กิโลเมตร

2/8/2553
01:25GMT

3/8/2553
14:25GMT

4/8/2553
13:25GMT

9/8/2553
17:25GMT

10/8/2553
20:25GMT

11/8/2553
16:25GMT

12/8/2553
16:25GMT

13/8/2553
14:25GMT

15/8/2553
16:25GMT

16/8/2553
21:25GMT

17/8/2553
17:25GMT

18/8/2553
16:25GMT

20/8/2553
22:25GMT

21/8/2553
01:25GMT

22/8/2553
00:25GMT

24/8/2553
17:25GMT

25/8/2553
01:25GMT

26/8/2553
14:25GMT

27/8/2553
22:25GMT

28/8/2553
09:25GMT
เรดาร์สกลนคร รัศมี 240 กิโลเมตร

1/8/2553
19:38GMT

4/8/2553
20:38GMT

5/8/2553
20:38GMT

9/8/2553
13:38GMT

10/8/2553
16:38GMT

12/8/2553
20:38GMT

15/8/2553
20:38GMT

16/8/2553
16:38GMT

17/8/2553
16:38GMT

20/8/2553
21:38GMT

21/8/2553
05:38GMT

22/8/2553
20:38GMT


23/8/2553
20:38GMT

24/8/2553
23:38GMT

26/8/2553
19:38GMT

27/8/2553
14:38GMT

28/8/2553
10:38GMT

29/8/2553
17:38GMT

30/8/2553
20:38GMT

31/8/2553
17:38GMT
เรดาร์อุบลราชธานี รัศมี 240 กิโลเมตร

1/8/2553
13:40GMT

2/8/2553
13:40GMT

3/8/2553
12:40GMT

4/8/2553
19:40GMT

5/8/2553
16:40GMT

8/8/2553
19:40GMT

10/8/2553
14:40GMT

12/8/2553
10:40GMT

16/8/2553
20:40GMT

17/8/2553
10:40GMT

18/8/2553
00:40GMT

19/8/2553
16:40GMT

20/8/2553
22:40GMT

22/8/2553
13:40GMT

23/8/2553
18:40GMT

24/8/2553
00:40GMT

26/8/2553
20:40GMT

27/8/2553
22:40GMT

28/8/2553
06:40GMT

31/8/2553
19:40GMT
ข้อมูลจากเครือข่ายภาพเรดาร์กรมอุตุนิยมวิทยา เรดาร์เชียงราย พิษณุโลก สกลนคร อุบลราชราชธานี รัศมี 240 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ตอนบนของประเทศ พบว่ามีฝนตกในพื้นที่ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือตลอดทั้งเดือน โดยเฉพาะช่วงปลายเดือนตั้งแต่วันที่ 25-31 สิงหาคม ที่มีฝนตกหนักอย่างต่อเนื่องอันเป็นผลกระทบมาจากพายุมินดอลเล ส่งผลให้เกิดน้ำท่วมหนักในหลายจังหวัด

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
เรดาร์เชียงราย  เรดาร์พิษณุโลก  เรดาร์สกลนคร  เรดาร์อุบลราชธาน

ปริมาณฝนสะสม

1/8/2553
[12:00]

2/8/2553
[00:00]

3/8/2553
[00:00]

4/8/2553
[12:00]

5/8/2553
[00:00]

6/8/2553
[00:00]


7/8/2553
[00:00]

9/8/2553
[12:00]


10/8/2553
[12:00]

11/8/2553
[00:00]

12/8/2553
[12:00]

13/8/2553
[12:00]

14/8/2553
[00:00]

15/8/2553
[12:00]

16/8/2553
[12:00]

17/8/2553
[12:00]

18/8/2553
[00:00]

19/8/2553
[00:00]

20/8/2553
[12:00]

21/8/2553
[
00:00]

22/8/2553
[
00:00]

23/8/2553
[12:00]

24/8/2553
[12:00]

25/8/2553
[00:00]

26/8/2553
[00:00]

27/8/2553
[12:00]

28/8/2553
[12:00]

29/8/2553
[00:00]

30/8/2553
[00:00]

31/8/2553
[
00:00]
จากแผนภาพแสดงปริมาณฝนสะสมของสถาบันวิจัยทหารเรืออเมริกา พบว่าช่วงต้นเดือนมีกลุ่มฝนกระจุกตัวค่อนข้างหนาอยู่บริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือตอนบน ทำให้เกิดน้ำท่วมในหลายพื้นที่ เช่น ลำปาง เชียงราย น่าน เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน อุตรดิตถ์ พะเยา แพร่ และในช่วงกลางเดือนยังคงมีกลุ่มฝนกระจุกตัวในบริเวณดังกล่าว ประกอบกับช่วงปลายเดือนมีพายุเ้ข้าทำให้กลุ่มฝนกระจุกตัวหนาแน่นมากยิ่งขึ้นตั้งแต่ช่่วงวันที่ 24-28 สิงหาคม ทำให้น้ำท่วมมีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นและกระจายตัวเป็นวงกว้างออกไปในหลายจังหวัด เช่น ลำพูน สุโขทัย ตาก พิจิตร กำแพงเพชร พิษณุโลก นครสวรรค์ เลย มุกดาหาร หนองคาย ขอนแก่น กาฬสินธุ์ เพชรบูรณ์ นครพนม ชัยภูมิ ยโสธร อำนาจเจริญ เป็นต้น

รายละเอียดเพิ่มเติม

แผนภาพปริมาณฝนสะสมจาก NASA

1/8/2553[00Z]-8/8/2553[21Z]

9/8/2553[00Z]-16/8/2553[21Z]

17/8/2553[00Z]-24/8/2553[21Z]

25/8/2553[00Z]-31/8/2553[21Z]

1/8/2553[00Z]-31/8/2553[21Z]
   
จากแผนภาพฝนสะสมของ NASA พบว่าช่วงสัปดาห์แรกถึงสัปดาห์ที่สามของเดือน กลุ่มฝนกระจุกตัวมากบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือฝั่งตะวันออก และภาคตะวันออก โดยช่วงปลายเดือนกลุ่มฝนกระจุกตัวน้อยลง ภาคกลางมีกลุ่มฝนกระจุกตัวค่อนข้างมาก ช่วงสัปดาห์่ที่สามของเดือน หากพิจารณาฝนทั้งเดือน จะพบว่ามีกลุ่มฝนค่อนข้างมาก บริเวณภาคตะวันออกและทางด้านตะวันออกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ


ข้อมูลปริมาณฝนจากสถานีตรวจอากาศกรมอุตุนิยมวิทยา



แผนภาพฝนเฉลี่ยเดือนส.ค.
จากค่าสถิติปี2493-2540

ส.ค. 53

ส.ค. 52

ส.ค.51
จากแผนภาพข้อมูลฝนสะสมช่วงเดือนสิงหาคม พบว่าเดือนสิงหาคม ปี 2553 พื้นที่ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลางและภาคตะวันออก มีฝนตกมากว่าเดือนสิงหาคมของปี 2552 และ 2551 รวมทั้งมากกว่าค่าฝนเฉลี่ยเดือนสิงหาคมจากค่าสถิติปี 2493-2540 โดยรายละเอียดฝนสะสมรายวันที่มีปริมาณฝนค่อนข้างมากในเดือนสิงหาคม 2553 เป็นดังตารางด้านล่าง

วันที่
สถานี
จังหวัด
ปริมาณฝนสะสมรายวัน(มม.)
31/8/2010
น่าน (1) น่าน                        90.3
30/8/2010
หนองคาย หนองคาย                        52.4
29/8/2010
มุกดาหาร มุกดาหาร                       141.1
อุบลราชธานี อุบลราชธานี                       139.9
กมลาไสย (2) กาฬสินธุ์                       109.0
นครพนม นครพนม                        80.9
สกลนคร (1) สกลนคร                        71.7
เลย เลย                        71.2
อุบลราชธานี (1) อุบลราชธานี                        66.2
แม่สอด ตาก                        56.9
28/8/2010
อุบลราชธานี (1) อุบลราชธานี                       120.1
มุกดาหาร มุกดาหาร                       106.0
อุบลราชธานี อุบลราชธานี                        99.2
แม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน                        95.0
27/8/2010
สกลนคร (1) สกลนคร                        81.7
นครพนม (1) นครพนม                        68.9
นครพนม นครพนม                        58.1
26/8/2010
เชียงราย (1) เชียงราย                       108.4
ทุ่งช้าง (2) น่าน                        67.9
เชียงราย เชียงราย                        66.1
25/8/2010
สกลนคร สกลนคร                       137.2
อุตรดิตถ์ อุตรดิตถ์                       116.8
สกลนคร (1) สกลนคร                        91.2
อุดรธานี อุดรธานี                        87.3
เลย เลย                        79.0
นครพนม นครพนม                        78.8
ลำปาง (1) ลำปาง                        69.5
มุกดาหาร มุกดาหาร                        57.8
24/8/2010
มุกดาหาร มุกดาหาร                        70.8
23/8/2010
แม่สะเรียง แม่ฮ่องสอน                        62.8
22/8/2010
สุโขทัย สุโขทัย                       124.8
ชัยภูมิ ชัยภูมิ                        82.2
ลำปาง (1) ลำปาง                        67.2
พิจิตร พิจิตร                        61.3
21/8/2010
บุรีรัมย์ บุรีรัมย์                        69.2
อุดรธานี อุดรธานี                        52.2
พิจิตร พิจิตร                        50.8
19/8/2010
ลำพูน ลำพูน                        70.6
แม่สอด ตาก                        62.0
เลย เลย                        57.6
เชียงราย (1) เชียงราย                        52.8
เขื่อนภูมิพล ตาก                        52.1
18/8/2010
อุดรธานี อุดรธานี                        93.9
นครสวรรค์ นครสวรรค์                        83.4
17/8/2010
ท่าพระ (1) ขอนแก่น                        57.5
วิเชียรบุรี เพชรบูรณ์                        54.6
16/8/2010
โชคชัย (2) นครราชสีมา                        51.0
14/8/2010
ลำปาง (1) ลำปาง                       100.7
ลำพูน ลำพูน                        72.9
พิษณุโลก พิษณุโลก                        53.3
13/8/2010
หนองคาย หนองคาย                        59.4
11/8/2010
ร้อยเอ็ด (1) ร้อยเอ็ด                       102.7
ร้อยเอ็ด ร้อยเอ็ด                        67.7
บัวชุม (2) เพชรบูรณ์                        67.0
ตากฟ้า นครสวรรค์                        61.2
ชัยภูมิ ชัยภูมิ                        53.5
นครพนม นครพนม                        50.4
10/8/2010
สกลนคร สกลนคร                        57.4
นครพนม (1) นครพนม                        51.8
9/8/2010
น่าน น่าน                        89.5
6/8/2010
หนองคาย หนองคาย                        91.4
น่าน น่าน                        85.8
น่าน (1) น่าน                        67.3
ท่าวังผา (2) น่าน                        63.0
ทุ่งช้าง (2) น่าน                        62.6
อุดรธานี อุดรธานี                        52.4
5/8/2010
มุกดาหาร มุกดาหาร                        72.3
4/8/2010
ลำพูน ลำพูน                        55.6
3/8/2010
ชัยภูมิ ชัยภูมิ                        86.2
น่าน (1) น่าน                        71.2
หล่มสัก เพชรบูรณ์                        66.3
น่าน น่าน                        60.7
ท่าวังผา (2) น่าน                        53.0
เพชรบูรณ์ เพชรบูรณ์                        52.0
2/8/2010
ร้อยเอ็ด (1) ร้อยเอ็ด                        91.1
สุรินทร์ สุรินทร์                        78.0
หนองคาย หนองคาย                        77.0
ชัยภูมิ ชัยภูมิ                        75.2
อุบลราชธานี อุบลราชธานี                        66.1
ร้อยเอ็ด ร้อยเอ็ด                        53.8
1/8/2010
อุบลราชธานี (1) อุบลราชธานี                        92.0
อุบลราชธานี อุบลราชธานี                        80.8



การเตือนภัยผ่านโทรศัพท์มือถือ (sms) จากระบบโทรมาตรขนาดเล็ก

วันที่
เวลาที่เตือนภัย
ช่วงเวลาฝนสะสม
สถานที่
ปริมาณฝน(มม.)
ระดับการเตือนภัย
วันที่
เวลาที่เตือนภัย
ช่วงเวลาฝนสะสม
สถานที่
ปริมาณฝน(มม.)
ระดับการเตือนภัย
31/8/2010
20:00:00
ฝน18-19น.
ต.สังคม หนองคาย
47.4
วิกฤต
14/8/2010
8:00:00
ฝนวานนี้
ต.บ้านเสด็จ ลำปาง
100.7
เฝ้าระวังสูงสุด
31/8/2010
14:00:00
ฝน13-14น.
ต.นาแก ลำปาง
40.4
วิกฤต
13/8/2010
23:00:00
ฝน22-23น.
ต.บ้านธิ ลำพูน
36.2
เฝ้าระวังสูงสุด
31/8/2010
13:00:00
ฝน12-13น.
ต.นาแก ลำปาง
37.2
เฝ้าระวังสูงสุด
13/8/2010
20:00:00
ฝน19-20น.
ต.วังชะพลู กำแพงเพชร
38
วิกฤต
31/8/2010
8:00:00
ฝนวานนี้
ต.สะเนียน น่าน
90.3
วิกฤต
13/8/2010
20:00:00
ฝน18-19น.
ต.วังชะพลู กำแพงเพชร
33
เฝ้าระวังสูงสุด
31/8/2010
7:00:00
ฝน31/07-01/06น.
ต.หนองเหล่า อุบลราชธานี
90.4
เฝ้าระวังสูงสุด
13/8/2010
20:00:00
ฝน18-19น.
ต.คลองสมบูรณ์ กำแพงเพชร
36.2
วิกฤต
30/8/2010
19:00:00
ฝน18-19น.
ต.วิเชตนคร ลำปาง
35.8
เฝ้าระวังสูงสุด
13/8/2010
20:00:00
ฝน18-19น.
ต.ถืมตอง น่าน
26.8
เฝ้าระวังสูงสุด
30/8/2010
19:00:00
ฝน18-19น.
ต.ป่าคา น่าน
26.4
เฝ้าระวังสูงสุด
13/8/2010
20:00:00
ฝน18-19น.
ต.ถืมตอง น่าน
31
วิกฤต
30/8/2010
19:00:00
ฝน18-19น.
ต.วิเชตนคร ลำปาง
42
วิกฤต
13/8/2010
20:00:00
ฝน19-20น.
ต.ป่าพุทรา กำแพงเพชร
34.2
เฝ้าระวังสูงสุด
29/8/2010
20:00:00
ฝน18-19น.
ต.หนองแขม พิษณุโลก
35.2
เฝ้าระวังสูงสุด
13/8/2010
19:00:00
ฝน17-18น.
ต.ป่าคาหลวง น่าน
26.2
เฝ้าระวังสูงสุด
29/8/2010
8:00:00
ฝนวานนี้
ต.บุ่งมะแลง อุบลราชธานี
139.9
วิกฤต
13/8/2010
18:00:00
ฝน07-18น.
ต.แม่สาคร น่าน
65.8
เฝ้าระวังสูงสุด
29/8/2010
8:00:00
ฝนวานนี้
ต.ธัญญา กาฬสินธุ์
109
เฝ้าระวังสูงสุด
13/8/2010
17:00:00
ฝน15-16น.
ต.แม่สาคร น่าน
30.2
วิกฤต
29/8/2010
8:00:00
ฝนวานนี้
ต.บ้านค้อ มุกดาหาร
141.1
วิกฤต
13/8/2010
17:00:00
ฝน16-17น.
ต.มีชัย หนองคาย
70
วิกฤต
29/8/2010
6:00:00
ฝน05-06น.
ต.ถืมตอง น่าน
31.8
วิกฤต
13/8/2010
16:00:00
ฝน15-16น.
ต.แม่สาคร น่าน
25.6
เฝ้าระวังสูงสุด
29/8/2010
6:00:00
ฝน29/07-30/06น.
ต.ถืมตอง น่าน
65.2
เฝ้าระวังสูงสุด
13/8/2010
7:00:00
ฝน05-06น.
ต.โพธิ์ศรี อุบลราชธานี
41.2
เฝ้าระวังสูงสุด
29/8/2010
6:00:00
ฝน04-05น.
ต.ถืมตอง น่าน
25.8
เฝ้าระวังสูงสุด
12/8/2010
16:00:00
ฝน07-16น.
ต.กลางเวียง น่าน
65.8
เฝ้าระวังสูงสุด
29/8/2010
2:00:00
ฝน29/07-30/02น.
ต.เมืองพาน อุดรธานี
90.4
เฝ้าระวังสูงสุด
12/8/2010
16:00:00
ฝน14-15น.
ต.สักงาม กำแพงเพชร
36.8
วิกฤต
28/8/2010
22:00:00
ฝน07-22น.
ต.บ้านเชียง อุดรธานี
90.8
เฝ้าระวังสูงสุด
12/8/2010
15:00:00
ฝน14-15น.
ต.ปางตาไว กำแพงเพชร
37.2
วิกฤต
28/8/2010
22:00:00
ฝน07-22น.
ต.สังคม หนองคาย
110.2
วิกฤต
12/8/2010
6:00:00
ฝน12/07-13/05น.
ต.บะยาว อุดรธานี
90.2
เฝ้าระวังสูงสุด
28/8/2010
18:00:00
ฝน16-17น.
ต.สังคม หนองคาย
46
วิกฤต
12/8/2010
3:00:00
ฝน12/07-13/03น.
ต.บ่อเกลือใต้ น่าน
65.6
เฝ้าระวังสูงสุด
28/8/2010
17:00:00
ฝน16-17น.
ต.สังคม หนองคาย
40.6
เฝ้าระวังสูงสุด
12/8/2010
2:00:00
ฝน01-02น.
ต.บ่อเกลือใต้ น่าน
32.8
วิกฤต
28/8/2010
17:00:00
ฝน07-17น.
ต.สังคม หนองคาย
94.4
เฝ้าระวังสูงสุด
12/8/2010
2:00:00
ฝน00-01น.
ต.บ่อเกลือใต้ น่าน
27.4
เฝ้าระวังสูงสุด
28/8/2010
15:00:00
ฝน13-14น.
ต.หมากแข้ง อุดรธานี
41
เฝ้าระวังสูงสุด
11/8/2010
22:00:00
ฝน21-22น.
ต.ช้างคลาน เชียงใหม่
38.2
เฝ้าระวังสูงสุด
28/8/2010
13:00:00
ฝน07-13น.
ต.ฟากท่า อุตรดิตถ์
66
เฝ้าระวังสูงสุด
11/8/2010
22:00:00
ฝน21-22น.
ต.สันกำแพง เชียงใหม่
43.2
วิกฤต
28/8/2010
13:00:00
ฝน07-13น.
ต.ศรีบุญเรือง มุกดาหาร
112.2
วิกฤต
11/8/2010
21:00:00
ฝน07-20น.
ต.ถืมตอง น่าน
87.4
วิกฤต
28/8/2010
12:00:00
ฝน11-12น.
ต.ศรีบุญเรือง มุกดาหาร
40.4
เฝ้าระวังสูงสุด
11/8/2010
20:00:00
ฝน07-19น.
ต.ถืมตอง น่าน
70.6
เฝ้าระวังสูงสุด
28/8/2010
12:00:00
ฝน07-11น.
ต.ป่าโมง อุบลราชธานี
91
เฝ้าระวังสูงสุด
11/8/2010
19:00:00
ฝน17-18น.
ต.ถืมตอง น่าน
34.6
วิกฤต
28/8/2010
12:00:00
ฝน07-12น.
ต.หนองเหล่า อุบลราชธานี
110.4
วิกฤต
11/8/2010
18:00:00
ฝน17-18น.
ต.ป่าพุทรา กำแพงเพชร
35.2
วิกฤต
28/8/2010
12:00:00
ฝน07-12น.
ต.ศรีบุญเรือง มุกดาหาร
90.8
เฝ้าระวังสูงสุด
11/8/2010
16:00:00
ฝน07-15น.
ต.เมืองพาน เชียงราย
88.2
เฝ้าระวังสูงสุด
28/8/2010
12:00:00
ฝน07-12น.
ต.บ่อแก้ว น่าน
65.6
เฝ้าระวังสูงสุด
11/8/2010
15:00:00
ฝน13-14น.
ต.เมืองพาน เชียงราย
43.8
วิกฤต
28/8/2010
11:00:00
ฝน07-10น.
ต.หนองเหล่า อุบลราชธานี
90.6
เฝ้าระวังสูงสุด
11/8/2010
14:00:00
ฝน13-14น.
ต.เมืองพาน เชียงราย
35.8
เฝ้าระวังสูงสุด
28/8/2010
11:00:00
ฝน09-10น.
ต.บ่อแก้ว น่าน
34.6
วิกฤต
11/8/2010
8:00:00
ฝนวานนี้
ต.ราชธานี ร้อยเอ็ด
102.7
เฝ้าระวังสูงสุด
28/8/2010
11:00:00
ฝน09-10น.
ต.บ่อเบี้ย อุตรดิตถ์
33.8
วิกฤต
10/8/2010
23:00:00
ฝน21-22น.
ต.ดอนเมือง นครราชสีมา
47
วิกฤต
28/8/2010
10:00:00
ฝน09-10น.
ต.บ่อเบี้ย อุตรดิตถ์
26.2
เฝ้าระวังสูงสุด
10/8/2010
22:00:00
ฝน20-21น.
ต.วังชิ้น แพร่
30.4
เฝ้าระวังสูงสุด
28/8/2010
10:00:00
ฝน08-09น.
ต.ฟากท่า อุตรดิตถ์
25.2
เฝ้าระวังสูงสุด
10/8/2010
21:00:00
ฝน20-21น.
ต.ชุมพร ร้อยเอ็ด
49
วิกฤต
28/8/2010
10:00:00
ฝน09-10น.
ต.บ่อแก้ว น่าน
25.4
เฝ้าระวังสูงสุด
10/8/2010
19:00:00
ฝน18-19น.
ต.แพรกศรีราชา ชัยนาท
36.8
เฝ้าระวังสูงสุด
28/8/2010
8:00:00
ฝนวานนี้
ต.บุ่งมะแลง อุบลราชธานี
99.2
เฝ้าระวังสูงสุด
10/8/2010
19:00:00
ฝน18-19น.
ต.แพรกศรีราชา ชัยนาท
42.2
วิกฤต
28/8/2010
8:00:00
ฝนวานนี้
ต.บ้านค้อ มุกดาหาร
106
เฝ้าระวังสูงสุด
10/8/2010
16:00:00
ฝน14-15น.
ต.คลองสมบูรณ์ กำแพงเพชร
31.4
เฝ้าระวังสูงสุด
28/8/2010
8:00:00
ฝนวานนี้
ต.ห้วยผา แม่ฮ่องสอน
95
เฝ้าระวังสูงสุด
10/8/2010
16:00:00
ฝน14-15น.
ต.สะเนียน น่าน
26.2
เฝ้าระวังสูงสุด
28/8/2010
8:00:00
ฝนวานนี้
ต.เอือดใหญ่ อุบลราชธานี
120.1
วิกฤต
10/8/2010
15:00:00
ฝน14-15น.
ต.เขาหลวง เลย
40.6
เฝ้าระวังสูงสุด
28/8/2010
7:00:00
ฝน28/07-29/06น.
ต.จำป่าหวาย พะเยา
110.4
วิกฤต
10/8/2010
8:00:00
ฝนวานนี้
ต.ละอุ่นเหนือ ระนอง
105.7
เฝ้าระวังสูงสุด
28/8/2010
6:00:00
ฝน28/07-29/05น.
ต.ศรีษะเกษ น่าน
81.4
วิกฤต
10/8/2010
6:00:00
ฝน10/07-11/06น.
ต.นาคู กาฬสินธุ์
110.4
วิกฤต
28/8/2010
5:00:00
ฝน28/07-29/05น.
ต.โป่งนก ชัยภูมิ
90.4
เฝ้าระวังสูงสุด
10/8/2010
4:00:00
ฝน10/07-11/04น.
ต.นาคู กาฬสินธุ์
91
เฝ้าระวังสูงสุด
28/8/2010
5:00:00
ฝน28/07-29/05น.
ต.ศรีษะเกษ น่าน
67
เฝ้าระวังสูงสุด
10/8/2010
2:00:00
ฝน01-02น.
ต.กื้ดช้าง เชียงใหม่
40.2
วิกฤต
28/8/2010
5:00:00
ฝน28/07-29/04น.
ต.บ้านเวียง แพร่
88.4
เฝ้าระวังสูงสุด
10/8/2010
1:00:00
ฝน10/07-11/00น.
ต.ศรีพนมมาศ อุตรดิตถ์
71.6
เฝ้าระวังสูงสุด
28/8/2010
5:00:00
ฝน28/07-29/05น.
ต.แม่สาคร น่าน
66
เฝ้าระวังสูงสุด
9/8/2010
22:00:00
ฝน21-22น.
ต.หนองแดง น่าน
30.2
วิกฤต
28/8/2010
5:00:00
ฝน28/07-29/05น.
ต.จำป่าหวาย พะเยา
88.8
เฝ้าระวังสูงสุด
9/8/2010
21:00:00
ฝน20-21น.
ต.สังคม หนองคาย
41.8
เฝ้าระวังสูงสุด
28/8/2010
4:00:00
ฝน28/07-29/03น.
ต.บ่อเบี้ย อุตรดิตถ์
80.6
วิกฤต
9/8/2010
21:00:00
ฝน20-21น.
ต.สังคม หนองคาย
47.8
วิกฤต
28/8/2010
3:00:00
ฝน28/07-29/03น.
ต.ชุมพร ร้อยเอ็ด
95.4
เฝ้าระวังสูงสุด
9/8/2010
16:00:00
ฝน15-16น.
ต.เชียงม่วน พะเยา
31.6
เฝ้าระวังสูงสุด
28/8/2010
2:00:00
ฝน28/07-29/02น.
ต.บ่อแก้ว น่าน
83.2
วิกฤต
9/8/2010
8:00:00
ฝนวานนี้
ต.ป่าแลวหลวง น่าน
89.5
วิกฤต
28/8/2010
1:00:00
ฝน28/07-29/01น.
ต.นายูง อุดรธานี
97.6
เฝ้าระวังสูงสุด
9/8/2010
5:00:00
ฝน09/07-10/04น.
ต.เวียง เชียงราย
85.2
เฝ้าระวังสูงสุด
28/8/2010
1:00:00
ฝน00-01น.
ต.นาปรัง พะเยา
30.4
เฝ้าระวังสูงสุด
9/8/2010
4:00:00
ฝน02-03น.
ต.ศรีษะเกษ น่าน
25.6
เฝ้าระวังสูงสุด
28/8/2010
1:00:00
ฝน28/07-29/00น.
ต.บ่อเบี้ย อุตรดิตถ์
66
เฝ้าระวังสูงสุด
9/8/2010
1:00:00
ฝน00-01น.
ต.ในเวียง แพร่
35.4
วิกฤต
28/8/2010
1:00:00
ฝน28/07-29/00น.
ต.ฟากท่า อุตรดิตถ์
101.2
วิกฤต
8/8/2010
20:00:00
ฝน19-20น.
ต.หนองมะนาว นครราชสีมา
41
เฝ้าระวังสูงสุด
27/8/2010
7:00:00
ฝน27/07-28/06น.
ต.พุทธบาท เพชรบูรณ์
70.2
เฝ้าระวังสูงสุด
8/8/2010
14:00:00
ฝน13-14น.
ต.บ้านผึ้ง นครพนม
40.8
เฝ้าระวังสูงสุด
27/8/2010
6:00:00
ฝน27/07-28/06น.
ต.หนองเหล่า อุบลราชธานี
110.6
วิกฤต
8/8/2010
6:00:00
ฝน05-06น.
ต.เปือ น่าน
30.2
วิกฤต
27/8/2010
6:00:00
ฝน27/07-28/05น.
ต.หนองเหล่า อุบลราชธานี
94.8
เฝ้าระวังสูงสุด
8/8/2010
6:00:00
ฝน05-06น.
ต.บ่อเกลือใต้ น่าน
27.4
เฝ้าระวังสูงสุด
27/8/2010
5:00:00
ฝน04-05น.
ต.ปางหมู แม่ฮ่องสอน
49
วิกฤต
8/8/2010
6:00:00
ฝน04-05น.
ต.เปือ น่าน
28.8
เฝ้าระวังสูงสุด
27/8/2010
5:00:00
ฝน27/07-28/05น.
ต.ปางหมู แม่ฮ่องสอน
91.6
เฝ้าระวังสูงสุด
7/8/2010
21:00:00
ฝน20-21น.
ต.วัดโบสถ์ พิษณุโลก
36.8
เฝ้าระวังสูงสุด
27/8/2010
5:00:00
ฝน04-05น.
ต.ปางหมู แม่ฮ่องสอน
37.8
เฝ้าระวังสูงสุด
7/8/2010
21:00:00
ฝน20-21น.
ต.หนองแขม พิษณุโลก
40.6
วิกฤต
27/8/2010
3:00:00
ฝน02-03น.
ต.พุทธบาท เพชรบูรณ์
37.4
เฝ้าระวังสูงสุด
7/8/2010
20:00:00
ฝน19-20น.
ต.วัดจันทร์ พิษณุโลก
34.2
เฝ้าระวังสูงสุด
26/8/2010
8:00:00
ฝนวานนี้
ต.โป่งแพร่ เชียงราย
108.4
เฝ้าระวังสูงสุด
7/8/2010
20:00:00
ฝน19-20น.
ต.วัดจันทร์ พิษณุโลก
38.2
วิกฤต
26/8/2010
8:00:00
ฝนวานนี้
ต.ปอน น่าน
67.9
เฝ้าระวังสูงสุด
7/8/2010
1:00:00
ฝน07/07-08/00น.
ต.วังทอง พิษณุโลก
70.2
เฝ้าระวังสูงสุด
25/8/2010
13:00:00
ฝน07-13น.
ต.เม็งราย เชียงราย
88
เฝ้าระวังสูงสุด
7/8/2010
1:00:00
ฝน07/07-08/00น.
ต.วัดโบสถ์ พิษณุโลก
71.4
เฝ้าระวังสูงสุด
25/8/2010
12:00:00
ฝน11-12น.
ต.เวียงชัย เชียงราย
44.2
วิกฤต
6/8/2010
8:00:00
ฝนวานนี้
ต.สะเนียน น่าน
67.3
เฝ้าระวังสูงสุด
25/8/2010
11:00:00
ฝน09-10น.
ต.เม็งราย เชียงราย
40.8
วิกฤต
6/8/2010
8:00:00
ฝนวานนี้
ต.หนองปลาปาก หนองคาย
91.4
เฝ้าระวังสูงสุด
25/8/2010
8:00:00
ฝนวานนี้
ต.ศรีวิชัย สกลนคร
137.2
วิกฤต
6/8/2010
8:00:00
ฝนวานนี้
ต.ป่าแลวหลวง น่าน
85.8
วิกฤต
25/8/2010
8:00:00
ฝนวานนี้
ต.นาใน สกลนคร
91.2
เฝ้าระวังสูงสุด
6/8/2010
2:00:00
ฝน00-01น.
ต.วังทรายพูน พิจิตร
44
วิกฤต
25/8/2010
8:00:00
ฝนวานนี้
ต.ขุนฝาง อุตรดิตถ์
116.8
วิกฤต
6/8/2010
2:00:00
ฝน00-01น.
ต.วังทรายพูน พิจิตร
36
เฝ้าระวังสูงสุด
25/8/2010
7:00:00
ฝนวานนี้
ต.เวียงชัย เชียงราย
85.2
เฝ้าระวังสูงสุด
5/8/2010
23:00:00
ฝน07-23น.
ต.หนองแดง น่าน
66.8
เฝ้าระวังสูงสุด
25/8/2010
5:00:00
ฝน25/07-26/05น.
ต.เม็งราย เชียงราย
120.2
วิกฤต
5/8/2010
23:00:00
ฝน21-22น.
ต.หนองแดง น่าน
30.8
วิกฤต
25/8/2010
5:00:00
ฝน25/07-26/05น.
ต.เวียง เชียงราย
85.2
เฝ้าระวังสูงสุด
5/8/2010
22:00:00
ฝน20-21น.
ต.ถืมตอง น่าน
30.4
วิกฤต
24/8/2010
9:00:00
ฝน08-09น.
ต.พังแดง มุกดาหาร
41.2
เฝ้าระวังสูงสุด
5/8/2010
22:00:00
ฝน21-22น.
ต.หนองแดง น่าน
28
เฝ้าระวังสูงสุด
24/8/2010
5:00:00
ฝน24/07-25/05น.
มุกดาหาร
90.4
เฝ้าระวังสูงสุด
5/8/2010
17:00:00
ฝน16-17น.
ต.หย่วน พะเยา
30.4
เฝ้าระวังสูงสุด
24/8/2010
4:00:00
ฝน24/07-25/04น.
ต.สังคม หนองคาย
91.2
เฝ้าระวังสูงสุด
5/8/2010
7:00:00
ฝน06-07น.
ต.เวียง เชียงราย
43.4
วิกฤต
24/8/2010
2:00:00
ฝน01-02น.
ต.วังทอง พิษณุโลก
38.8
เฝ้าระวังสูงสุด
5/8/2010
7:00:00
ฝนวานนี้
ต.ห้วยข้าวก่ำ พะเยา
85.2
เฝ้าระวังสูงสุด
23/8/2010
19:00:00
ฝน18-19น.
ต.บ้านโฮ่ง ลำพูน
35.6
เฝ้าระวังสูงสุด
5/8/2010
7:00:00
ฝนวานนี้
ต.สังคม หนองคาย
95.4
เฝ้าระวังสูงสุด
23/8/2010
6:00:00
ฝน23/07-24/05น.
ต.พะลาน อุบลราชธานี
110.6
วิกฤต
5/8/2010
7:00:00
ฝน05/07-06/06น.
ต.ถืมตอง น่าน
80.2
วิกฤต
23/8/2010
4:00:00
ฝน23/07-24/04น.
ต.พะลาน อุบลราชธานี
93.6
เฝ้าระวังสูงสุด
5/8/2010
6:00:00
ฝน05/07-06/06น.
ต.หนองแดง น่าน
80.2
วิกฤต
23/8/2010
3:00:00
ฝน01-02น.
ต.แมด อำนาจเจริญ
45.8
วิกฤต
5/8/2010
6:00:00
ฝน05/07-06/06น.
ต.จอมพระ น่าน
94
วิกฤต
22/8/2010
14:00:00
ฝน13-14น.
ต.ลี้ ลำพูน
38.6
เฝ้าระวังสูงสุด
5/8/2010
5:00:00
ฝน05/07-06/04น.
ต.จอมพระ น่าน
66.2
เฝ้าระวังสูงสุด
22/8/2010
8:00:00
ฝน07-08น.
ต.สันกำแพง เชียงใหม่
36.4
เฝ้าระวังสูงสุด
5/8/2010
4:00:00
ฝน05/07-06/04น.
ต.บ้านเชียง อุดรธานี
92.8
เฝ้าระวังสูงสุด
22/8/2010
8:00:00
ฝนวานนี้
ต.ราวต้นจันทร์ สุโขทัย
124.8
วิกฤต
5/8/2010
4:00:00
ฝน05/07-06/04น.
ต.ดู่พงษ์ น่าน
65.6
เฝ้าระวังสูงสุด
22/8/2010
8:00:00
ฝน07-08น.
ต.พบพระ ตาก
36.6
วิกฤต
5/8/2010
4:00:00
ฝน03-04น.
ต.บ้านเชียง อุดรธานี
46.8
วิกฤต
22/8/2010
3:00:00
ฝน01-02น.
ต.โพนทอง กาฬสินธุ์
40.2
เฝ้าระวังสูงสุด
5/8/2010
3:00:00
ฝน02-03น.
ต.ห้วยข้าวก่ำ พะเยา
36.6
วิกฤต
21/8/2010
23:00:00
ฝน22-23น.
ต.ปางหมู แม่ฮ่องสอน
41.2
วิกฤต
5/8/2010
2:00:00
ฝน05/07-06/02น.
ต.ถืมตอง น่าน
65.2
เฝ้าระวังสูงสุด
21/8/2010
8:00:00
ฝน06-07น.
ต.วังชิ้น แพร่
38.4
วิกฤต
4/8/2010
18:00:00
ฝน07-18น.
ต.บางริ้น ระนอง
65.6
เฝ้าระวังสูงสุด
21/8/2010
4:00:00
ฝน21/07-22/04น.
ต.ล้อมแรด ลำปาง
120.4
วิกฤต
3/8/2010
22:00:00
ฝน21-22น.
ต.หนองโสน พิจิตร
35.8
วิกฤต
21/8/2010
4:00:00
ฝน21/07-22/04น.
ต.เวียงมอก ลำปาง
86
เฝ้าระวังสูงสุด
3/8/2010
8:00:00
ฝน06-07น.
ต.เวียงใต้ แม่ฮ่องสอน
37.4
เฝ้าระวังสูงสุด
21/8/2010
3:00:00
ฝน01-02น.
ต.ล้อมแรด ลำปาง
42.2
วิกฤต
3/8/2010
8:00:00
ฝน07-08น.
ต.เวียงใต้ แม่ฮ่องสอน
41.2
วิกฤต
21/8/2010
3:00:00
ฝน21/07-22/02น.
ต.ล้อมแรด ลำปาง
91.4
เฝ้าระวังสูงสุด
3/8/2010
4:00:00
ฝน03/07-04/04น.
ต.ขัวก่าย สกลนคร
90.4
เฝ้าระวังสูงสุด
21/8/2010
3:00:00
ฝน02-03น.
ต.เวียงมอก ลำปาง
30.4
เฝ้าระวังสูงสุด
2/8/2010
23:00:00
ฝน22-23น.
ต.เวียง เชียงราย
43.2
วิกฤต
21/8/2010
2:00:00
ฝน21/07-22/02น.
ต.วังชิ้น แพร่
86
เฝ้าระวังสูงสุด
2/8/2010
23:00:00
ฝน22-23น.
ต.นาปรัง พะเยา
30.6
เฝ้าระวังสูงสุด
21/8/2010
2:00:00
ฝน01-02น.
ต.บ้านกร่าง สุโขทัย
33.8
เฝ้าระวังสูงสุด
2/8/2010
22:00:00
ฝน20-21น.
ต.จอมพระ น่าน
25.8
เฝ้าระวังสูงสุด
21/8/2010
2:00:00
ฝน01-02น.
ต.เมืองสวรรคโลก สุโขทัย
41.6
วิกฤต
2/8/2010
22:00:00
ฝน07-22น.
ต.โป่ง เลย
74.4
เฝ้าระวังสูงสุด
20/8/2010
7:00:00
ฝน06-07น.
ต.ศรีษะเกษ น่าน
25.6
เฝ้าระวังสูงสุด
2/8/2010
22:00:00
ฝน20-21น.
ต.ถืมตอง น่าน
33.6
วิกฤต
20/8/2010
7:00:00
ฝน06-07น.
ต.วังชิ้น แพร่
38.4
วิกฤต
2/8/2010
22:00:00
ฝน07-22น.
ต.ลุ่มลำชี ชัยภูมิ
90.4
เฝ้าระวังสูงสุด
20/8/2010
6:00:00
ฝน05-06น.
ต.ศรีษะเกษ น่าน
25.4
เฝ้าระวังสูงสุด
2/8/2010
20:00:00
ฝน18-19น.
ต.เปือ น่าน
25.4
เฝ้าระวังสูงสุด
18/8/2010
16:00:00
ฝน15-16น.
ต.ผาน้อย เลย
49
วิกฤต
2/8/2010
20:00:00
ฝน18-19น.
ต.เปือ น่าน
31.6
วิกฤต
18/8/2010
13:00:00
ฝน12-13น.
นครราชสีมา
47.4
วิกฤต
2/8/2010
19:00:00
ฝน18-19น.
ต.ลุ่มลำชี ชัยภูมิ
41.2
เฝ้าระวังสูงสุด
18/8/2010
8:00:00
ฝนวานนี้
ต.โพนงาม อุดรธานี
93.9
เฝ้าระวังสูงสุด
2/8/2010
18:00:00
ฝน17-18น.
ต.ขุนยวม แม่ฮ่องสอน
42.2
วิกฤต
16/8/2010
22:00:00
ฝน07-22น.
ต.หนองเลิง หนองคาย
118.2
วิกฤต
2/8/2010
13:00:00
ฝน12-13น.
ต.หนองแดง น่าน
25.8
เฝ้าระวังสูงสุด
16/8/2010
19:00:00
ฝน18-19น.
ต.ท่าเดื่อ เชียงใหม่
40.8
วิกฤต
2/8/2010
7:00:00
ฝน06-07น.
ต.เวียงใต้ แม่ฮ่องสอน
37.4
เฝ้าระวังสูงสุด
16/8/2010
19:00:00
ฝน17-18น.
ต.ท่าเดื่อ เชียงใหม่
39
เฝ้าระวังสูงสุด
2/8/2010
6:00:00
ฝน02/07-03/06น.
ต.หนองแดง น่าน
66.2
เฝ้าระวังสูงสุด
16/8/2010
10:00:00
ฝน07-10น.
ต.หนองเลิง หนองคาย
105.8
เฝ้าระวังสูงสุด
2/8/2010
6:00:00
ฝน05-06น.
ต.จำป่าหวาย พะเยา
31.6
เฝ้าระวังสูงสุด
16/8/2010
7:00:00
ฝน16/07-17/06น.
ต.เวียง เชียงราย
86
เฝ้าระวังสูงสุด
2/8/2010
6:00:00
ฝน02/07-03/05น.
ต.วิเชตนคร ลำปาง
85.2
เฝ้าระวังสูงสุด
16/8/2010
3:00:00
ฝน02-03น.
ต.ท่าโรง เพชรบูรณ์
38
เฝ้าระวังสูงสุด
2/8/2010
6:00:00
ฝน02/07-03/06น.
ต.ขุนยวม แม่ฮ่องสอน
85.4
เฝ้าระวังสูงสุด
15/8/2010
23:00:00
ฝน07-23น.
ต.วังงิ้ว พิจิตร
70.2
เฝ้าระวังสูงสุด
2/8/2010
5:00:00
ฝน04-05น.
ต.วิเชตนคร ลำปาง
40.2
วิกฤต
15/8/2010
2:00:00
ฝน15/07-16/02น.
ต.หนองเลิง หนองคาย
90.8
เฝ้าระวังสูงสุด
2/8/2010
4:00:00
ฝน02/07-03/03น.
ต.ถืมตอง น่าน
81
วิกฤต
15/8/2010
2:00:00
ฝน00-01น.
ต.หนองเลิง หนองคาย
43
เฝ้าระวังสูงสุด
2/8/2010
1:00:00
ฝน02/07-03/00น.
ต.ถืมตอง น่าน
69.8
เฝ้าระวังสูงสุด
15/8/2010
2:00:00
ฝน00-01น.
ต.ป่าแฝก หนองคาย
41.6
เฝ้าระวังสูงสุด
2/8/2010
1:00:00
ฝน02/07-03/00น.
ต.เปือ น่าน
65.4
เฝ้าระวังสูงสุด
14/8/2010
22:00:00
ฝน07-22น.
ต.บ่อเกลือใต้ น่าน
81.6
วิกฤต
2/8/2010
1:00:00
ฝน02/07-03/00น.
ต.เวียง เชียงราย
98.6
เฝ้าระวังสูงสุด
14/8/2010
22:00:00
ฝน07-22น.
ต.บ่อเกลือใต้ น่าน
66.6
เฝ้าระวังสูงสุด


ข้อมูลระดับน้ำจากสถานีวัดระดับน้ำท่า กรมชลประทาน

(E.20A)แนวสะพาน อ.มหาชนะชัย จ.ยโสธร
(ระดับตลิ่ง 9.5 ม.)

(M.185)บ้านไผ่น้อย อ.ลำปลายมาศ จ.บุรีรัมย์
(ระดับตลิ่ง 6.2 ม.)

(N.8A)บ้านบางมูลนาก อ.บางมูลนาก จ.พิจิตร
(ระดับตลิ่ง 6.2 ม.)

(S.42)บ้านบ่อวัง อ.วิเชียรบุรี จ.เพชรบูรณ์
(ระดับตลิ่ง 10.2 ม.)

(Y.33)บ้านคลองตาล อ.ศรีสำโรง จ.สุโขทัย
(ระดับตลิ่ง 9.56 ม.)

(Y.16)บ้านบางระกำ อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก
(ระดับตลิ่ง 7.17 ม.)

(Y.1C)ที่สะพานบ้านน้ำโค้ง อ.เมือง จ.แพร่
(ระดับตลิ่ง 8.2 ม.)

(Y.3A)บ้านวังไม้ขอน อ.สวรรคโลก จ.สุโขทัย
(ระดับตลิ่ง 10 ม.)

(Y.4)ที่สะพานตลาดธานี อ.เมือง จ.สุโขทัย
(ระดับตลิ่ง 6.48 ม.)
จากกราฟแสดงข้อมูลระดับน้ำจากสถานีตรวจวัดน้ำท่ากรมชลประทาน พบว่าแม่น้ำสายหลักหลายสายเกิดน้ำล้นตลิ่ง ไม่ว่าจะเป็นแม่น้ำน่าน แม่น้ำยม แม่น้ำมูล แม่น้ำชี แม่น้ำป่าสัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งแม่น้ำยม ที่เกิดน้ำล้นตลิ่งในหลายจุด

ข้อมูลปริมาณน้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่

ปริมาณน้ำไหลลงอ่างเขื่อนภูมิพล

ปริมาณน้ำไหลลงอ่างเขื่อนสิริกิติ์

ปริมาณน้ำไหลลงอ่างเขื่อนแม่งัด

ปริมาณน้ำไหลลงอ่างเขื่อนกิ่วลม

ปริมาณน้ำไหลลงอ่างเขื่อนแควน้อย

ปริมาณน้ำไหลลงอ่างเขื่อนป่าสัก

ปริมาณน้ำไหลลงอ่างเขื่อนลำปาว

ปริมาณน้ำไหลลงอ่างเขื่อนอุบลรัตน์

จากการที่มีฝนตกค่อนข้างมากอย่างต่อเนื่องในพื้นที่ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือช่วงเดือนสิงหาคม ส่งผลให้ปริมาณน้ำไหลลงอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่เพิ่มสูงขึ้นค่อนข้างมาก โดยเขื่อนภูมิพลมีปริมาณน้ำไหลลงอ่างประมาณ 1,075 ล้านลูกบาศก์เมตร ส่วนเขื่อนสิริกิติ์มีปริมาณน้ำในลงอ่างประมาณ 2,184 ล้านลูกบาศก์เมตร รายละเอียดเพิ่มเติมตามตารางด้านล่าง

ตารางและกราฟแสดงข้อมูลน้ำรายวันในอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่


เขื่อน
ปริมาณน้ำไหลลง
สะสม เดือน ส.ค.53
ปริมาณน้ำในอ่างที่เพิ่มขึ้น
จากเดือน ก.ค.53
ปริมาณน้ำกักเก็บ
วันที่ 31 ส.ค. 53 
ล้าน ลบ.ม.
คิดเป็น%ที่ รนก.
ล้าน ลบ.ม.
คิดเป็น % ที่ รนก.
ภาคเหนือ
ภูมิพล (2)
1074.79
974
7
4,983
37
สิริกิติ์ (2)
2184.19
2028
21
5,602
59
แม่งัด
119.58
108
40
173
65
กิ่วลม
225.96
52
47
88
79
แม่กวง
71.05
61
23
89
34
กิ่วคอหมา
68.57
61
36
102
60
แควน้อย
215.63
217
28
396
51
รวมภาคเหนือ
3959.77
3501
15
11,433
47
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ลำปาว
939.44
814
57
1,145
80
ลำตะคอง
33.97
24
8
113
36
ลำพระเพลิง
36.99
19
18
68
62
น้ำอูน
154.86
149
28
277
53
อุบลรัตน์ (2)
1039.23
761
31
1,440
59
สิรินธร (2)
258.58
181
9
1,068
54
จุฬาภรณ์ (2)
34.9
32
20
93
57
ห้วยหลวง
81.09
76
64
100
85
ลำนางรอง
8.69
9
7
47
39
มูลบน
7.72
6
4
41
29
น้ำพุง (2)
44.12
27
16
97
59
ลำแซะ
23.28
11
4
124
45
รวมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
2662.87
2109
27
4,613
59
ภาคกลาง
ป่าสักฯ
387.7
368
39
437
46
กระเสียว
58.8
35
15
134
56
ทับเสลา
28.71
26
16
58
36
รวมภาคกลาง
475.21
429
31
629
46
ภาคตะวันตก
ศรีนครินทร์ (2)
479.27
-137
-1
12,786
72
วชิราลงกรณ (2)
662.18
544
6
3,977
45
รวมภาคตะวันตก
1141.45
407
2
16,763
63
ภาคตะวันออก
บางพระ
10.93
9
7
54
46
หนองปลาไหล
23.46
17
11
145
89
คลองสียัด
125.26
127
30
231
55
คลองท่าด่าน
70.49
65
29
112
50
ประแสร์
74.38
60
25
205
83
รวมภาคตะวันออก
304.52
278
24
747
64
ภาคใต้
แก่งกระจาน
57.77
-20
-3
195
27
ปราณบุรี
13.65
-4
-2
88
25
รัชชประภา (2)
273.56
70
1
3,460
61
บางลาง (2)
171.72
59
4
704
48
รวมภาคใต้
516.7
105
2
4,447
55
รวมทั้งประเทศ
9060.52
6829
10
38,632
56

 

ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมจาก GISTDA (คลิ๊กที่ภาพเพื่อแสดงภาพเต็ม)

ข้อมูลจากดาวเที่ยม RADARSAT-2
บันทึกข้อมูลเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม
2553 เวลา 18.22 น. แสดงพื้นที่
น้ำท่วมบริเวณบางส่วนของจังหวัด
สุโขทัยและอุตรดิตถ
ข้อมูลจากดาวเที่ยม RADARSAT-2
บันทึกข้อมูลเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม
2553 เวลา 06.19 น. แสดงพื้นที่
น้ำท่วม บริเวณบางส่วนของจังหวัด
เีชียงรายและพะเยา
ข้อมูลจากดาวเที่ยม RADARSAT-2
บันทึกข้อมูลเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม
2553 เวลา 06.19 น. แสดงพื้นที่
น้ำท่วม บริเวณบางส่วนของจังหวัด
แพร่และลำปาง
ข้อมูลจากดาวเที่ยม RADARSAT-2
บันทึกข้อมูลเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม
2553 เวลา 06.19 น. แสดงพื้นที่
น้ำท่วมบริเวณบางส่วนของจังหวัด
สุโขทัยและอุตรดิตถ์
ข้อมูลจากดาวเที่ยม RADARSAT-2
บันทึกข้อมูลเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม
2553 เวลา 18.35 น. แสดงพื้นที่
น้ำท่วม บริเวณบางส่วนของจังหวัด
เชียงใหม่และลำพูน
ข้อมูลจากดาวเที่ยม RADARSAT-2
บันทึกข้อมูลเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม
2553 เวลา 18.18 น. แสดงพื้นที่
น้ำท่วม บริเวณบางส่วนของจังหวัด
เชียงรายและพะเยา
ข้อมูลจากดาวเที่ยม RADARSAT-2
บันทึกข้อมูลเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม
2553 เวลา 18.18 น. แสดงพื้นที่
น้ำท่วม บริเวณบางส่วนของจังหวัด
นครสวรรค์ พิจิตร พิษณุโลก และ
เพชรบูรณ์
ข้อมูลจากดาวเที่ยม RADARSAT-2
บันทึกข้อมูลเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม
2553 เวลา 18.18 น. แสดงพื้นที่
น้ำท่วม บริเวณบางส่วนของจังหวัด
แพร่ อุตรดิตถ์ และ ลำปาง
ข้อมูลจากดาวเที่ยม RADARSAT-2
บันทึกข้อมูลเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม
2553 เวลา 18.31 น. แสดงพื้นที่
น้ำท่วม บริเวณบางส่วนของจังหวัด
แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ และ เชียงราย
ข้อมูลจากดาวเที่ยม RADARSAT-2
บันทึกข้อมูลเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม
2553 เวลา 18.31 น. แสดงพื้นที่
น้ำท่วม บริเวณบางส่วนของจังหวัด
ลำพูน ลำปาง และ แพร่
ข้อมูลจากดาวเที่ยม RADARSAT-2
บันทึกข้อมูลเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม
2553 เวลา 18.31 น. แสดงพื้นที่
น้ำท่วม บริเวณบางส่วนของจังหวัด
กำแพงเพชร พิจิตร และ นครสวรรค์
ข้อมูลจากดาวเที่ยม RADARSAT-2
บันทึกข้อมูลเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม
2553 เวลา 18.31 น. แสดงพื้นที่
น้ำท่วม บริเวณบางส่วนของจังหวัด
ตาก สุโขทัย อุตรดิตถ์ และ พิษณุโลก
ข้อมูลจากดาวเที่ยม RADARSAT-2
บันทึกข้อมูลเมื่อวันที่ 28 สิงหาคม
2553 เวลา 06.11 น. แสดงพื้นที่
น้ำท่วม บริเวณบางส่วนของจังหวัด
ชัยนาท นครสวรรค์ พระนครศรีอยุธยา
ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี สุพรรณบุรี และ
อ่างทอง
ข้อมูลจากดาวเที่ยม RADARSAT-2
บันทึกข้อมูลเมื่อวันที่ 28 สิงหาคม
2553 เวลา 06.11 น. แสดงพื้นที่
น้ำท่วม บริเวณบางส่วนของจังหวัด
นครสวรรค์ และ พิจิตร
ข้อมูลจากดาวเที่ยม RADARSAT-2
บันทึกข้อมูลเมื่อวันที่ 28 สิงหาคม
2553 เวลา 06.11 น. แสดงพื้นที่
น้ำท่วม บริเวณบางส่วนของจังหวัด
อุตรดิตถ์ สุโขทัย และ พิษณุโลก
ข้อมูลจากดาวเที่ยม RADARSAT-2
บันทึกข้อมูลเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม
2553 เวลา 18.25 น. แสดงพื้นที่
น้ำท่วม บริเวณบางส่วนของจังหวัด
ลพบุรี สระบุรี พระนครศรีอยุธยา
นครนายก และ ปราจีนบุรี
ข้อมูลจากดาวเที่ยม RADARSAT-2
บันทึกข้อมูลเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม
2553 เวลา 18.25 น. แสดงพื้นที่
น้ำท่วม บริเวณบางส่วนของจังหวัด
เชียงราย และ พะเยา
ข้อมูลจากดาวเที่ยม RADARSAT-2
บันทึกข้อมูลเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม
2553 เวลา 18.25 น. แสดงพื้นที่
น้ำท่วม บริเวณบางส่วนของจังหวัด
พิจิตร เพชรบูรณ์ นครสวรรค์ ชัยนาท
สิงห์บุรี และ ลพบุรี
ข้อมูลจากดาวเที่ยม RADARSAT-2
บันทึกข้อมูลเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม
2553 เวลา 18.25 น. แสดงพื้นที่
น้ำท่วม บริเวณบางส่วนของจังหวัด
สุโขทัย อุตรดิตถ์ พิษณุโลก เลย
เพชรบูรณ์ กำแพงเพชร และ พิจิตร
ข้อมูลจากดาวเที่ยม RADARSAT-2
บันทึกข้อมูลเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม
2553 เวลา 18.25 น. แสดงพื้นที่
น้ำท่วม บริเวณบางส่วนของจังหวัด
ลำปาง แพร่ น่าน และ อุตรดิตถ์
ข้อมูลจากดาวเที่ยม RADARSAT-2
บันทึกข้อมูลเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม
2553 เวลา 06.24 น. แสดงพื้นที่
น้ำท่วม บริเวณบางส่วนของจังหวัด
เชียงใหม่ ลำปาง และ ลำพูน
ข้อมูลจากดาวเที่ยม RADARSAT-2
บันทึกข้อมูลเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม
2553 เวลา 06.24 น. แสดงพื้นที่
น้ำท่วม บริเวณบางส่วนของจังหวัด
เชียงราย เชียงใหม่ และ พะเยา
ข้อมูลจากดาวเที่ยม RADARSAT-2
บันทึกข้อมูลเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม
2553 เวลา 06.24 น. แสดงพื้นที่
น้ำท่วม บริเวณบางส่วนของจังหวัด
ตาก
   

 

ข้อมูลด้านความเสียหาย

สรุปสถานการณ์สาธารณภัยประจำสัปดาห์ ระหว่างวันที่ 3-9 ส.ค. 2553
สถานการณ์อุทกภัย (ระหว่างวันที่ 3–9 สิงหาคม 2553)
          พื้นที่ประสบภัย 5 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดแพร่ อุตรดิตถ์ ลำปาง น่าน และจังหวัดเชียงราย รวม 10 อำเภอ 22 ตำบล ดังนี้
          1) จังหวัดแพร่ เมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2553 เวลาประมาณ 02.00 น. ได้เกิดฝนตกหนักต่อเนื่องทำให้เกิดน้ำป่าไหลหลากเข้าท่วมในพื้นที่ อำเภอเด่นชัย ตำบลห้วยไร่ บริเวณบ้านน้ำแรม (หมู่ที่ 4) ทางหลวงหมายเลข 11 ระหว่างสามแยกปากจั๊วะ อำเภอเด่นชัย จังหวัดแพร่ ถึง เขาพลึง อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ ช่วง กม.151 ถนนทางเบี่ยงถูกน้ำพัดขาด รถยนต์สามารถสัญจรได้แล้ว
          2) จังหวัดอุตรดิตถ์ เมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2553 เวลาประมาณ 02.00 น. เกิดฝนตกหนักต่อเนื่อง ทำให้น้ำป่าไหลหลากในพื้นที่ อำเภอลับแล ตำบลแม่พูล (หมู่ที่ 1,2,3,5) ราษฎรได้รับความเดือดร้อน 49 ครัวเรือน ความเสียหายอยู่ระหว่างสำรวจ
          3) จังหวัดลำปาง เมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2553 เวลาประมาณ 03.00 น. ได้เกิดฝนตกหนักต่อเนื่อง ทำให้น้ำป่าไหลหลากเข้าท่วมในพื้นที่อำเภอเมือง 2 ตำบล คือ ตำบลบ้านแลง (หมู่ที่ 4,5,8,10) และตำบลบ้านเสด็จ (หมู่ที่ 2,15) อำเภอแจ้ห่ม 5 ตำบล คือ ตำบลแจ้ห่ม (หมู่ที่ 3,4,5,6,7,10,11) ตำบลบ้านสา (หมู่ที่ 1-4,6,9) ตำบลเมืองมาย (หมู่ที่ 1-6) ตำบลแม่สุก (หมู่ที่ 1,3,4,6,7,8,10,11) และตำบลปงดอน (หมู่ที่ 4) ราษฎรได้รับความเดือดร้อน 2,624 ครัวเรือน 8,538 คน สะพานชำรุด 4 แห่ง ฝาย 9 แห่ง คอสะพาน 5 แห่ง พื้นที่การเกษตร 3,940 ไร่
          4) จังหวัดน่าน เมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2553 เวลาประมาณ 09.00 น. ได้เกิดฝนตกหนัก
ต่อเนื่อง ทำให้ลำน้ำสมุน ตำบลสะเนียน ได้เอ่อล้นตลิ่งเข้าท่วมไร่นา และบ้านเรือนราษฎรริมน้ำบางส่วนในพื้นที่อำเภอเมือง 3 ตำบล คือ ตำบลสะเนียน (หมู่ที่ 1,2) ตำบลถืมตอง (หมู่ที่ 2,6) และตำบลไชยสถาน (หมู่ที่ 5)  ความเสียหายอยู่ระหว่างสำรวจ
          5) จังหวัดเชียงราย เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2553 ฝนตกหนักต่อเนื่อง ทำให้เกิดน้ำท่วมฉับพลัน และน้ำป่าไหลหลากในพื้นที่ 5 อำเภอ 10 ตำบล 97 หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน 2,682 ครัวเรือน 9,565 คน ความเสียหายอยู่ระหว่างกาu3619 .สำรวจ ดังนี้
                        (1) อำเภอแม่จัน ตำบลป่าตึง (หมู่ที่ 1-20) ตำบลแม่จัน (หมู่ที่ 1-14) และตำบลแม่คำ (หมู่ที่ 7,9,13)
                        (2) อำเภอเทิง ตำบลหงาว (หมู่ที่ 1,7,11)
                        (3) อำเภอขุนตาล ตำบลต้า (หมู่ที่ 16) ตำบลป่าตาล (หมู่ที่ 1,6,8-10) และตำบลยางฮอม (หมู่ที่ 4-7,14)
                        (4) อำเภอแม่ฟ้าหลวง ตำบลเทิดไทย (หมู่ที่ 1-18) และตำบลแม่สลองใน (หมู่ที่ 1-26)
                        (5) อำเภอเชียงแสน ตำบลศรีดอนมูล (หมู่ที่ 3,10)

สรุปสถานการณ์สาธารณภัยประจำสัปดาห์ระหว่างวันที่ 17-23 ส.ค. 2553
สถานการณ์อุทกภัย (ข้อมูล ณ วันที่ 21-23 สิงหาคม 2553)
          พื้นที่ประสบภัย 4 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดแพร่ ลำปาง เชียงราย และจังหวัดลำพูน รวม 15 อำเภอ 31 ตำบล 188 หมู่บ้าน มีผู้เสียชีวิต 1 ราย (อ.เมือง จ.ลำพูน) ดังนี้
          1) จังหวัดแพร่ เมื่อวันที่ 21-22 สิงหาคม 2553 ฝนตกหนักทำให้เกิดน้ำท่วมฉับพลันและน้ำป่าไหลหลากเข้าท่วมในพื้นที่ 4 อำเภอ ได้แก่ อำเภอร้องกวาง ตำบลแม่ยางตาล (หมู่ที่ 1-3,5-7,9) อำเภอเมือง ตำบลวังธง (หมู่ที่ 3) อำเภอลอง ตำบลบ้านปิ่น (หมู่ที่ 6,17) และอำเภอวังชิ้น ตำบลวังชิ้น (หมู่ที่ 4) ตำบลสรอย (หมู่ที่ 1-11) ตำบลป่าสัก (หมู่ที่ 1-10) ตำบล แม่พุง (หมู่ที่ 1-16) และตำบลแม่เกิ๋ง (หมู่ที่ 1-8) ความเสียหายอยู่ระหว่างการสำรวจ
          2) จังหวัดลำปาง เมื่อวันที่ 21-22 สิงหาคม 2553 ฝนตกหนักทำให้เกิดน้ำท่วมฉับพลันและน้ำป่าไหลหลากเข้าท่วมในพื้นที่ 6 อำเภอ ได้แก่ อำเภอเถิน ตำบลเวียงมอก (หมู่ที่ 1,4,5,6,9,10,12,14) ตำบลแม่ปะ (หมู่ที่ 1-10) ตำบลล้อมแรด (หมู่ที่ 1,2,7,13) ตำบลแม่มอก (หมู่ที่ 1-10) ตำบลแม่ถอด (หมู่ที่1,2,4,5,7,11,12) อำเภอเมืองปาน ตำบลหัวเมือง (หมู่ที่ 1-8) ตำบลแจ้ซ้อน (หมู่ที่ 8) ตำบลทุ่งกว๋าว (หมู่ที่ 1-13) ตำบลบ้านขอ (หมู่ที่ 4,8,10,13) อำเภอเกาะคา ตำบลไหล่หิน (หมู่ที่ 2,6) ตำบลเกาะคา (หมู่ที่ 1,2,4,5) ตำบลใหม่พัฒนา (หมู่ที่ 6,9) อำเภอห้างฉัตร ตำบลเมืองยาว (หมู่ที่ 8,12) ตำบลแม่สัน (หมู่ที่ 1,5) ตำบลปงยางคก (หมู่ที่1-5,10-13) ตำบลเวียงตาล (หมู่ที่ 3,9) ตำบลหนองหล่ม (หมู่ที่ 1-9) อำเภอเมือง ตำบลบ้านเอื้อม (หมู่ที่ 1,2,14) และอำเภอแจ้ห่ม ตำบลบ้านสา (หมู่ที่ 1,4,5) ความเสียหายอยู่ระหว่างการสำรวจ
          3) จังหวัดเชียงราย เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2553 ฝนตกหนักทำให้เกิดน้ำท่วมฉับพลัน และน้ำป่าไหลหลากเข้าท่วมในพื้นที่อำเภอเวียงป่าเป้า ตำบลแม่เจดีย์ใหญ่ (หมู่ที่ 1-6,9,11,14) และร้านค้าบริเวณบ่อน้ำพุร้อน ประมาณ 20 ร้าน ความเสียหายอยู่ระหว่างการสำรวจ
         4) จังหวัดลำพูน เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2553 ฝนตกหนักทำให้ลำน้ำแม่ทา และลำน้ำแม่กวงไหลหลากเข้าท่วมในพื้นที่อำเภอบ้านธิ อำเภอแม่ทา และอำเภอป่าซาง เจ้าหน้าที่เร่งสำรวจความเสียหายและให้การช่วยเหลือ       
        
สรุปสถานการณ์สาธารณภัยประจำสัปดาห์(ระหว่างวันที่ 24-30 ส.ค. 2553)

สถานการณ์อุทกภัย (ระหว่างวันที่ 24-30 สิงหาคม 2553)
          พื้นที่ประสบภัย 14 จังหวัด 43 อำเภอ 156 ตำบล 740 หมู่บ้าน ได้แก่ จังหวัดแม่ฮ่องสอนเชียงราย เชียงใหม่ ลำปาง ลำพูน แพร่ น่าน อุตรดิตถ์ พิษณุโลก เพชรบูรณ์ พิจิตร มุกดาหาร สระบุรี และจังหวัดนครนายก ราษฎรได้รับความเดือดร้อน 28,882 ครัวเรือน 81,723 คน อพยพ 116 ครัวเรือน 461 คน พื้นที่ทางการเกษตรได้รับความเสียหาย 87,414 ไร่ ผู้เสียชีวิต 1 ราย (นายสำราญ วังคำ อายุ 59 ปี อยู่บ้านเลขที่160 หมู่ที่ 4 ตำบลโพนงาม อำเภอคำชะอี จังหวัดมุกดาหาร)
          สถานการณ์ปัจจุบัน ยังคงมีสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่ 13 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดแม่ฮ่องสอน เชียงราย เชียงใหม่ ลำปาง แพร่ น่าน อุตรดิตถ์ พิษณุโลก เพชรบูรณ์ พิจิตรมุกดาหาร สระบุรีและจังหวัดนครนายก ดังนี้
          1) จังหวัดแม่ฮ่องสอน เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2553 ฝนตกหนักต่อเนื่องทำให้เกิดน้ำท่วมฉับพลัน และน้ำป่าไหลหลากเข้าท่วมในพื้นที่อำเภอปาย 7 ตำบล 52 หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน 40 ครัวเรือน 150 คน บ้านเรือนราษฎรเสียหายบางส่วน 1 หลัง ฝาย 3 แห่ง ปัจจุบันยังคงมีน้ำท่วมขังในพื้นที่หมู่ที่ 1,2,5 ตำบลแม่ฮี้ และอำเภอเมือง ที่ตำบลปางหมู (หมู่ที่ 11)
          2) จังหวัดเชียงราย เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2553 ฝนตกหนักต่อเนื่องทำให้เกิดน้ำท่วมฉับพลัน และน้ำป่าไหลหลากเข้าท่วมในพื้นที่ 5 อำเภอ ได้แก่ อำเภอขุนตาล เทิง เวียงเชียงรุ้ง เชียงของ และอำเภอพญาเม็งราย รวม 15 ตำบล 64 หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน 9,330 ครัวเรือน 24,540 คน พื้นที่การเกษตรได้รับความเสียหาย 5,400 ไร่
          3) จังหวัดเชียงใหม่ ระหว่างวันที่ 24-29 สิงหาคม 2553 ได้เกิดฝนตกหนักต่อเนื่องทำให้เกิดน้ำท่วมขัง น้ำล้นตลิ่งในบริเวณที่ลุ่มริมฝั่งน้ำ ในพื้นที่ 4 อำเภอได้แก่ อำเภอแม่ริม สันทราย หางดง และอำเภอเมือง รวม 24 ตำบล ราษฎรได้รับความเดือดร้อน 450 ครัวเรือน 2,000 คน
          4) จังหวัดลำปาง เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2553 เกิดฝนตกหนักต่อเนื่องทำให้เกิดน้ำป่าไหลหลากเข้าท่วมในพื้นที่ 3 อำเภอ ได้แก่ อำเภอเมือง แม่เมาะ และอำเภองาว รวม 6 ตำบล 26 หมู่บ้าน ความเสียหายอยู่ระหว่างการสำรวจ
          5) จังหวัดแพร่ เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2553 เกิดน้ำป่าไหลหลากและน้ำท่วมฉับพลันในพื้นที่ 4 อำเภอ ได้แก่ อำเภอหนองม่วงไข่ ร้องกวาง สอง และอำเภอลอง รวม 14 ตำบล ความเสียหายอยู่ระหว่างการสำรวจ
          6) จังหวัดน่าน เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2553 เกิดฝนตกหนักทำให้น้ำในลำห้วยน้ำหินไหลเอ่อ
เข้าท่วมบ้านเรือนราษฎรและพื้นที่การเกษตรในพื้นที่อำเภอนาน้อย 4 ตำบล 20 หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน 2,984 ครัวเรือน 9,120 หมู่บ้าน ความเสียหายอยู่ระหว่างการสำรวจ
          7) จังหวัดอุตรดิตถ์ เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2553 เกิดฝนตกหนักต่อเนื่อง ปริมาณน้ำฝนวัดได้ 150.0 มม. ที่อำเภอฟากท่า ทำให้เกิดน้ำล้นตลิ่งไหลเข้าท่วมบ้านเรือนราษฎรและพื้นที่ลุ่มต่ำการเกษตรในอำเภอฟากท่า ตำบลฟากท่า (หมู่ที่ 3,4,10) และเขตเทศบาลตำบลฟากท่า ระดับน้ำสูงประมาณ 0.80 เมตร ราษฎรได้รับความเดือดร้อน 700 ครัวเรือน 2,100 คน ความเสียหายอยู่ระหว่างการสำรวจ
          8) จังหวัดพิษณุโลก เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2553 เกิดฝนตกหนักต่อเนื่อง ทำให้เกิดน้ำป่าไหลหลากเข้าท่วมในพื้นที่อำเภอเนินมะปราง 3 ตำบล 33 หมู่บ้าน ได้แก่ ตำบลไทรย้อย (หมู่ที่ 1-17)ตำบลวังโพรง(หมู่ที่ 1-9)และตำบลวังยาง (หมู่ที่ 1-7) ราษฎรได้รับความเดือดร้อน1,650 ครัวเรือน 6,600 คน
          9) จังหวัดเพชรบูรณ์ เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2553 เวลา 05.00 น. น้ำป่าไหลหลากในพื้นที่ 4 อำเภอ ได้แก่ อำเภอวิเชียรบุรี หล่มเก่า หนองไผ่ และอำเภอวังโป่ง รวม 12 ตำบล 79 หมู่บ้าน ความเสียหายอยู่ระหว่างการสำรวจ
          10) จังหวัดมุกดาหาร ระหว่างวันที่ 26-29 สิงหาคม 2553 เกิดฝนตกหนักทำให้น้ำท่วมบ้านเรือนราษฎรและพื้นที่การเกษตรใน 7 อำเภอ 35 ตำบล 367 หมู่บ้าน ได้แก่ อำเภอเมือง นิคมคำสร้อย ดอนตาล ดงหลวง คำชะอี ว่านใหญ่ และอำเภอหนองสูง ราษฎรได้รับความเดือดร้อน 8,827 ครัวเรือน 22,500 คน อพยพ 116 ครัวเรือน 461 คน มีผู้เสียชีวิต 1 ราย คือ นายสำราญ วังคำ อายุ 59 ปี อยู่บ้านเลขที่ 160 หมู่ที่ ตำบลโพนงาม อำเภอคำชะอี (เสียชีวิตเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2553 บริเวณสะพานห้วยแคน บ้านโพนไฮ หมู่ที่ ตำบลหนองแคน อำเภอดงหลวง เนื่องจากถูกน้ำป่าพัดตกสะพาน) พื้นที่การเกษตรเสียหาย 73,164 ไร่ ถนน 205 สาย ท่อระบายน้ำ 25 แห่ง ฝาย 12 แห่ง บ่อปลา/กุ้ง 414 บ่อ
          11) จังหวัดสระบุรี เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2553 เกิดฝนตกหนักทำให้น้ำท่วมบ้านเรือนราษฎรและที่ลุ่มต่ำการเกษตรใน 5 อำเภอ 16 ตำบล 23 หมู่บ้าน ได้แก่ อำเภอบ้านหมอ วิหารแดง เมือง หนองแค และอำเภอแก่งคอย ความเสียหายอยู่ระหว่างการสำรวจ
          12) จังหวัดนครนายก ระหว่างวันที่ 27-28 สิงหาคม 2553 เกิดฝนตกหนักต่อเนื่องทำให้น้ำท่วมบ้านเรือนราษฎรและที่ลุ่มต่ำการเกษตรใน 2 อำเภอ 8 ตำบล ได้แก่ อำเภอปากพลี และอำเภอบ้านนา ราษฎรได้รับความเดือดร้อน 51 ครัวเรือน 153 คน พื้นที่การเกษตร 50 ไร่
          13) จังหวัดพิจิตร ระหว่างวันที่ 29-30 สิงหาคม 2553 เกิดน้ำท่วมขังในพื้นที่ 2 อำเภอ 6 ตำบล ได้แก่ อำเภอดงเจริญ และอำเภอทับคล้อ ความเสียหายอยู่ระหว่างการสำรวจ 

ที่มา : ตัดเฉพาะส่วนมาจากรายงานสรุปสถานการณ์สาธารณภัยประจำสัปดาห์ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย http://www.disaster.go.th/

ข่าวจากหนังสือพิมพ์

--------------------------------------------------------------------------------------
น้ำป่าภูพานทำหนองหารล้น-ท่วมพื้นที่การเกษตร 1 แสนไร่ [ ผู้จัดการออนไลน์ : 31 ส.ค. 53 ]
      
        หลังจากที่ฝนตกหนักติดต่อกันหลายวันจนส่งผลให้น้ำป่าไหลบ่าจากเทือกเขาภูพานลงสู้พื้นที่รองรับน้ำบริเวณทะเลสาบหนองหาร ทำให้ระดับน้ำในหนองหารเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว เจ้าหน้าที่ประมงจังหวัดสกลนครได้เปิดประตูระบายน้ำ 100 เปอร์เซ็นต์ 1 บานจากจำนวน 3 บาน เพื่อให้น้ำระบายออกจากหนองหารลงสู่ลำน้ำก่ำและไหลลงสู่แม่น้ำโขงที่จังหวัดนครพนมต่อไป ส่งผลให้พื้นการเกษตร นาข้าว บ่อปลา และบ้านเรือนราษฎร ในพื้นที่ตำบลบ้านโพน อำเภอโพนนาแก้ว อำเภอเมืองสหลนคร ได้รับความเสียหายแล้วประมาณ 1 หมื่นไร่
       
        นายประชุม โพนไชยยา ผู้ใหญ่บ้านบ้านใหม่ไชยยา หมู่ที่ 8 ต.บ้านโพน อ.โพนนาแก้ว จังหวัดสกลนคร กล่าวว่า ในทุกปี ประตูน้ำสุรัสวดีที่ระบายน้ำออกจาหหนองหาร จะทยอยปล่อยน้ำออกมา และไม่สร้างปัญหาให้กับหมู่บ้านที่อยู่ใต้ประตูน้ำ แต่ปีนี้น้ำมาเร็วและมาปริมาณมากกว่าทุกปีที่ผ่านมา ซึ่งต้องเร่งระบายน้ำออกมาเพื่อแก้ปัญหาน้ำท่วมเหนือหนองหาร โดยเฉพาะนาข้าวและบ้านเรือนราษฎรรวมไปถึงตัวเมืองด้วย โดยเฉพาะบ้านปู่พึ้ม ต.บ้านโพน ขณะนี้น้ำได้เข้าท่วมทั้งหมู่บ้านจำนวน 30 หลังคาเรือน น้ำท่วมสูง เกือบ 1 เมตร ถนนทางเข้าหมู่บ้านคือ บ้านโพนใหญ่-บ้านปู่พึ้มและสายบ้านป่าผาง-บ้านปู่พึ้ม น้ำท่วมสูงกว่า 1 เมตร ซึ่งขณะนี้ถูกตัดขาดจากโลกภายนอก และชาวบ้านกำลังอพยพสัตว์เลี้ยงไปไว้ที่สูงแล้ว ส่วนบ้านเรือนราษฎรใต้ถุนสูงได้เก็บสิ่งของไว้ที่สูงเตรียมอพยพ ย้ายมาอยู่ที่สูงหากฝนไม่หยุดตกในคืนนี้
       
        จากรายงานของสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดสกลนคร ในพื้นที่อำเภอวาริชภูมิ,อำเภออากาศอำนวย ,อำเภอบ้านม่วง,อำเภอพรรณนา นิคม ซึ่งเป็นพื้นที่รองรับน้ำจากเทือกเขาภูพาน ซึ่งน้ำได้เอ่อล้นลำห้วยปลาหาง ,ลำน้ำยามและลำน้าสงคราม น้ำป่าได้ไหลเข้าท่วมพื้นที่การเกษตร จากการสำรวจเบื้องต้น จำนวน 80,000 ไร่
       


--------------------------------------------------------------------------------------
สั่งปิด 8 โรงเรียนเขตทับคล้อไม่มีกำหนด หลังน้ำทะลักท่วม [ ผู้จัดการออนไลน์ : 31 ส.ค. 53 ]
       
        นายสุวิทย์ วัชโรทยางกูร ผู้ว่าราชการจังหวัดพิจิตร พร้อมด้วยนางกนกพร วัชโรทยางกูร นายก เหล่ากาชาด จังหวัดพิจิตร ได้ลงพื้นที่ตรวจสภาพน้ำท่วมตลาดทับคล้อ ในวันนี้(31 ส.ค.53)ซึ่งพบว่าระดับน้ำยังคงทรงตัวท่วมบ้านเรือนในย่านธุรกิจและชุมชนประมาณ 1,700 หลังคาเรือนถูกน้ำท่วมกันถ้วนหน้า บางจุดระดับน้ำลึกกว่า 1 เมตร ชาวบ้านต้องใช้เรือเป็นพาหนะในการติดต่อกับโลกภายนอก จึงได้สั่งการให้นายวิมลเดช สุขเอี่ยม นายกเทศมนตรีเทศบาลทับคล้อ ใช้งบฉุกเฉินภัยพิบัติแจกถุงยังชีพและหุงหาอาหารทำข้าวกล่องวันละ 6,000 กล่อง พร้อมน้ำดื่มแจกชาวบ้าน 3 มื้อ เนื่องจากไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ในการดำรงชีพ ซึ่งคาดว่าถ้าไม่มีฝนตกลงมาซ้ำอีก 3 วัน ก็คงจะเข้าสู่สภาวะปกติ แต่ที่น่าเป็นห่วง คือ น้ำกำลังไหลหลากไปยัง อ.ตะพานหิน ที่จะต้องเตรียมตัวรับมือกับน้ำท่วมต่อไป
       
        ด้านนายพงษ์ชัย ไทยวรรณศรี ผอ.สพท.พิจิตร เขต 2 เปิดเผยว่า จากสถานการณ์ที่เกิดฝนตกน้ำป่าไหลหลากจากเทือกเขาเพชรบรูณ์ นอกจากจะทำให้บ้านเรือนและพื้นที่ทำการเกษตรถูกน้ำท่วมแล้ว น้ำยังได้ไหลเข้าท่วมโรงเรียนในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปฐมศึกษาพิจิตรเขต 2 ที่มี 19 โรงเรียนใน 3 อำเภอ คือ อ.ตะพานหิน , อ.ทับคล้อ , อ.ดงเจริญ โดยมีโรงเรียนที่ถูกน้ำท่วมหนัก 8 แห่ง คือ เขต อ.ตะพานหิน ได้แก่ ร.ร. ดงตะขบ ,เขตอ.ทับคล้อ ได้แก่ ร.ร.วังหินเพลิง ร.ร.วัดป่าเรไร ร.ร.วัดเขาส้าน ,เขต อ.ดงเจริญ ได้แก่ ร.ร.วังกะทะ , ร.ร.อนุบาลดงเจริญ , ร.ร.วัดวังหินแรง , ร.ร.บ้านวังบงก์ โดยส่วนใหญ่สนามโรงเรียนและอาคารเรียนชั้นล่างรวมถึงห้องสมุดจะถูกน้ำท่วม จึงต้องสั่งปิดการเรียนการสอนเป็นการชั่วคราวจนกว่าระดับน้ำจะลด ซึ่งยังไม่มีกำหนดที่แน่นอนและถ้าน้ำลดแล้วจึงจะประกาศเปิดทำการเรียนการสอนต่อไป เพื่อความปลอดภัยของเด็กๆ ภายในโรงเรียน




--------------------------------------------------------------------------------------
ฝนยังถล่มเหนือ-อีสานอ่วมน้ำท่วมฉับพลันนาข้าวพังพินาศ [ โพสต์ทูเดย์ : 31 ส.ค.53 ]

หลังเกิดฝนตกหนักตลอดทั้งคืน  ส่งผลให้ น้ำจากลำห้วยสนุกและลำห้วยน้อย  ล้นสปริงเวย์ อ่างเก็บน้ำห้วยน้อย  หรืออ่างเก็บน้ำสถานีวิจัยพืชสวนน่าน  หลากเข้าท่วมบ้านเรือนราษฎรที่บ้านผาตูบ  ต.ผาสิงห์  อ.เมือง จ.น่าน  กว่า  50  หลังคาเรือน

ขณะเดียวกันที่ อ.สันติสุข ในช่วงเช้าประมาณ  7.30 น. ก็ได้มีฝนตกหนักติดต่อกันนานกว่า 2 ชั่วโมง  ส่งผลให้น้ำในระดับน้ำจากลำน้ำพงษ์เพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็วโดยเช้านี้   น้ำได้ทะลักไหลเข้าท่วมพื้นที่การเกษตรและกัดเซาะถนนริมน้ำในหมู่บ้านบ้านหัวนา หมู่ที่ 9 ตำบลพงษ์ ซึ่งเป็นถนนเชื่อมไปบ้านป่าแดด หมู่ที่ 1 ต.พงษ์ เสียหายไม่สามารถใช้การได้ ท่อประปาเข้าหมู่บ้านขาดชาวบ้านขาดน้ำใช้ และเสาไฟฟ้าหักโค่นหลายแห่ง 

นอกจากนั้นดินได้สไลด์ทำให้ต้นไม้ลงมาปิดเส้นทางระหว่างหมู่บ้านบ้านศรีนาม่าน หมู่ที่ 7 ตำบลพงษ์ กับบ้านหลักลาย 2 จุด โดยเฉพาะหอประชุมหมู่บ้านบ้านศรีนาม่านที่อยู่ติดลำน้ำพงษ์ ถูกน้ำกัดเซาะพังไปเกือบครึ่ง ชาวบ้านต้องช่วยกันรื้อและขนย้านทรัพย์สินออกจากหอประชุมอย่างเร่งด่วน ขณะเดียวกันฝายกั้นน้ำพงษ์ที่อยู่เหนือหมู่บ้านบ้านพงษ์น้ำกัดเซาะสปริงเวย์เสียหายชาวบ้านพากันไปตรวจสอบเป็นระยะ ๆ ต่างวิตกกลัวฝายจะขาด ได้จัดเจ้าหน้าที่และชาวบ้านไปตรวจสอบอย่างใกล้ชิด หากฝายกั้นลำน้ำพงษ์เสียหายขาดลงจะทำให้ชาวบ้านบ้านศรีนาม่านจำนวนกว่า 100 หลังคาเรือนถูกน้ำท่วมเสียหายหนักทันที นอกจากนั้นอีก 2 ตำบล คือตำบลดู่พงษ์ ตำบลป่าแลวหลวง อีกกว่า 300 หลังคาเรือน ถูกน้ำท่วมไปด้วย

ส่วนที่ตำบลป่าแลวหลวงน้ำได้เข้าท่วมบ้านดอนไชย หมู่ที่ 6 สะพานเหล็กบ้านสบยาง หมู่ที่ 5, ขาด สะพานไม้หมู่ที่ 6 บ้านสบยาง ข้ามล้ำน้ำมวบ บ้านหมู่ที่ 1 ป่าแลว บ้านหมู่ที่ 9 บ้านหลวงเจริญราษฎร์ น้ำเข้า สะพานขาดรวมทั้งสิ้น 5 แห่ง  ชาวบ้านเดือดร้อนถูกน้ำยาง น้ำมวบไหลเข้าหมู่บ้านทำให้เครื่องใช้ในบ้าน เสียหาย สัตว์เลี้ยงสูญหายจำพวกหมู ไก่จำนวนมาก นอกจากนั้นถนนเชื่อมออกไปยัง อ.ปัวถูกน้ำท่วมสูง 1 เมตร รถเล็กไม่สามารถผ่านได้ ขณะนี้ทาง อบต.ป่าแลวหลวง และเจ้าหน้าที่ อปภร. หน่วยกู้ภัย อำเภอสันติสุขกำลังระดมกำลังช่วยเหลือชาวบ้าน

ขณะที่ จ.นครสวรรค์ น้ำในแม่น้ำยม  ต.ท่าไม้ อ.ชุมแสง จ.นครสวรรค์  ที่รับน้ำมาจากจ.ดพิจิตรเข้าท่วมบริเวณต.ท่าไม้และต.บางเคียน อ.ชุมแสง ขยายวงกว้างเพิ่มมากขึ้น  ในขณะปริมาณน้ำเอ่อล้นตลิ่งเข้าท่วมบ้านเรือนประชาชนที่อยู่ริมแม่น้ำโดยเฉพาะหมู่ที่2-3-4-5-8 ต.ท่าไม้ และ หมู่ที่13-14 ต.บางเคียน อ.ชุมแสง  เดือดร้อนขยายวงกว้างเพิ่มขึ้นกว่าร้อยหลังคาเรือนแล้ว  โดยระดับน้ำสูงกว่า 50 เซ็นติเมตร  ในขณะที่พื้นที่ทางการเกษตรโดยเฉพาะนาข้าวได้รับผลกระทบต่อเนื่องเช่นเดียวกัน  ซึ่งขณะนี้น้ำได้ไหลบ่าเข้าทุ่งนาข้าวที่กำลังจะเก็บเกี่ยวและข้าวที่ปลูกใหม่เสียหายกว่าสองพันไร่ ส่วนชาวนาอีกหลายรายที่น้ำยังท่วมไม่ถึงก็เร่งเสริมคันนาเพื่อป้องกันน้ำท่วมกันเป็นการด่วนแล้วนอกจากนี้ชาวบ้านแม่แปง หมู่ที่ 1 ต.นาพูน อ.วังชิ้น จ.แพร่ สะพานเข้าหมู่บ้านถูกน้ำยมทลักเอ่อท่วมทำให้ชาวบ้านเดินทางออกไปติดต่อหมู่บ้านอื่นไม่ได้ 

ส่วนที่ จ.สุโขทัย แม่น้ำยมที่มีความเร็วและแรง ด้วยความเร็ว 1,000 ลบ.เมตร ต่อ วินาที และเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง จนทำให้ล้นตลิ่งและไหลเข้าท่วมบ้านเรื่อนราษฎร ของ ม.1 ม.3 ม.4 ม.6 ต.ปากแคว อ.เมืองสุโขทัย  ในเวลา 3 นาฬิกา ของเช้าวันใหม่ทางกลางความเหนื่อยล้าของประชาชนที่ตลอดทั้งวันที่ผ่านมา อ.เมืองสุโขทัย อบต.ปากแคว อส.ตชด.นักศึกษาวิทยาลัยการพลศึกษาและประชาชนที่อาศัยอยู่ 2 ฝั่งแม่น้ำยมในเขต อ.เมืองสุโขทัย ต่างต้องเร่งขนกระสอบทรายมาวางเสริมแนวคันตลิ่งเพื่อไม่ให้น้ำจากแม่น้ำยมไหลเข้าท่วม แต่ก็สุดจะทานได้ ทำให้น้ำล้นแนวที่วางกระสอบทรายกันไว้ ไหลเข้าท่วมบ้านเรือนของตนเอง ในขณะที่ระดับน้ำในแม่น้ำยมบริเวณหน้าจนผู้ว่าราชการสูงเกิน 7 เมตร และไม่มีทีท่าว่าจะลดลงแต่อย่างไร และคาดว่าน้ำจะมีปริมาณมากอย่างนี้อีก 2 - 3วัน

ที่จ.ชัยภูมิ น้ำป่าไหลหลากบนเทือกเขาภูเขียว ต้นกำเนิดแม่น้ำชี เขต อ.หนองบัวแดง ท่วมสูงกว่า 1 เมตร และพัดถล่มเข้าสู่เขตอ.หนองบัวระเหว เขตเทศบาลต.โคกสะอาด 6 หมู่บ้าน เสียหายหนักถูกตัดเร่งอพยพคนยันรุ่งเช้า ราษฎรเดือดร้อนกว่า 1,500 หลังคาเรือน พื้นที่การเกษตรเสียหายหลายร้อยไร่

ล่าสุดมีระดับน้ำท่วมสูงกว่า 1 เมตร ทำให้ราษฎรในพื้นที่หมู่บ้านหนองม่วง หมู่ 6 ในเขตรับผิดชอบ 9 หมู่บ้าน ถูกน้ำท่วหนักเสียหายหนักทั้งหมดเป็นวงกว้างไปแล้วกว่า 6 หมู่บ้าน กว่า 1,500 หลังคาเรือน พื้นที่การเกษตรเสียหายไม่น้อยกว่า 1,000 ไร่ ถูกตัดขาดไม่สามารถเข้าออกได้ต้องเร่งอพยพราษฎรออกจากพื้นที่เป็นการด่วนแล้ว พร้อมเตรียมเสนอผู้ว่าราชการจ.ชัยภูมิ ประกาศเป็นเขตประสบภัยพิบัติจุดอันตรายแล้ว โดยเฉพาะพื้นที่ใกล้ลำน้ำชี 

ที่ จ.ยโสธร น้ำที่ไหลมาจากเทือกเขาภูพานและป่าดงบังอี่ในเขตจ.มุกดาหารและสกลนคร ได้ไหลลงมาสมทบกับปริมาณน้ำในลำน้ำเซบายที่ไหลผ่านอ.เลิงนกทา,อ.กุดชุมและอ.ป่าติ้ว จ.ยโสธร ทำให้ปริมาณน้ำในลำน้ำเซบาย เอ่อล้นตลิ่ง และไหลทะลักเข้าท่วมพื้นที่ทางการเกษตร โดยเฉพาะพื้นที่นาข้าวของเกษตรกรใน 3 ตำบล คือ ต.ศรีฐาน,ต.โพธิ์ไทร และต.เชียงพ็ง อ.ป่าติ้ว ได้รับความเสียหายกว่า 5,000 ไร่ นาข้าวจมอยู่ใต้น้ำลึกกว่า 2 เมตร บ้านเรือนของชาวบ้านที่อยู่ในที่ลุ่มและติดกับลำน้ำถูกน้ำท่วมสูงประมาณ 30 เซนติเมตร ชาวบ้านที่ได้รับผลกระทบน้ำท่วมบ้านเรือน จำนวน 51 ครัวเรือน นอกจากนี้กระแสน้ำยังได้กัดเซาะถนนที่เชื่อมระหว่างหมู่บ้านเสียหายถูกตัดขาดเป็นช่วงๆ จำนวน 4 เส้นทาง 

ที่จ.อำนาจเจริญ นายนิรันดร์   บุญสิงห์    หัวหน้าป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดอำนาจเจริญ กล่าวว่า ขณะนี้น้ำในอ่างเก็บน้ำต่างๆทั้ง 4 แห่งคืออ่างเก็บน้ำพุทธอุทยาน อ่างเก็บน้ำห้วยโพธิ์  อ่างเก็บน้ำห้วยสีโท และอ่างเก็บน้ำร่องน้ำชับเก็บกักน้ำไว้เกินพิกัดและไหลทะลักออกทางช่องระบายน้ำล้นหรือสติงเวย์ส่งผลกระทบให้ประชาชนที่ปลูกบ้านเรือนอาศัยอยู่ท้ายคลองส่งน้ำเจอกับปัญหาน้ำท่วมขังและนาข้าวเสียหายจากแรงน้ำพัดพาเป็นจำนวนกว่า 8 หมื่นไร่แล้ว โดยเฉพาะในเขตอ.เมือง และอ.หัวตะพาน นาข้าวเริ่มเน่าเหม็นไปแล้วเป็นบางส่วนเพราะท่วมขังมานานกว่า 7 วันแล้ว  สาเหตุจากน้ำที่ทะลักออกจากอ่างเก็บน้ำพุทธอุทยานไหลมาตามคลองส่งน้ำห้วยปลาแดก และที่สำคัญถนนหนทางการสัญจรไปมาเจอกับปัญหาน้ำท่วมขังเป็นจำนวนมาก คอสะพานระหว่างอำเภอ ระหว่างหมู่บ้านขาดเสียหายเป็นจำนวนกว่า 30-40 แห่ง ทาง อบจ.กำลังระดมช่อมแชมอยู่จากสภาวะที่เกิดฝนตกหนักติดต่อกันหลายวัน น้ำฝนวัดได้สูงสุด 140 ม.ม. นับว่าเป็นฝนที่ตกหนักในรอบ 20 ปีก็ว่าได้

ที่จ.กาฬสินธุ์ จากปริมาณฝนที่ตกหนักติดต่อกันกว่า 3 สัปดาห์ จนส่งผลให้เกิดน้ำป่าไหลหลากจาก ลำพะยัง ด้าน อ.กุฉินารายณ์ ไหลเข้าท่วมนาข้าวของเกษตรกรในหลายอำเภอถูกน้ำท่วมกว่า 35,000 ไร่  โดยเฉพาะในเขตอำเภอกมลาไสย มีรายงานว่าถูกน้ำท่วมกว่า 25,000 ไร่ การตรวจสอบครั้งนี้ยังพบว่า มีถนนทางการเกษตรโดยเฉพาะระหว่างบ้านโนนไฮ ไปบ้าน โพนงาม ถูกน้ำท่วมสูงกว่า 2 เมตร และยาวเกือบ 1 กิโลเมตร ไม่สามารถสัญจรไปมาได้ชาวบ้านต้องหลีกเลี่ยงไปใช้เส้นทางอื่น ปัญหาน้ำท่วมในพื้นที่กาฬสินธุ์ เกิดจากปริมาณของพายุฝนที่ตกหนักและตกติดต่อกันนานกว่า 3 สัปดาห์ และในหลายพื้นที่โดยเฉพาะ อ.เมืองกาฬสินธุ์ อ.กมลาไสย อ.ยางตลาด อ.ฆ้องชัย อ.กุฉินารายณ์ อ.เขาวง มีปริมาณฝนชุกมากกว่า 100 มิลลิเมตรต่อวัน ทำให้เกิดการสะสมจากน้ำบนเทือกแล้วเกิดปัญหาน้ำหลากไหลเข้าสู่พื้นที่ราบลุ่มโดยเฉพาะ อ.กมลาไสย ซึ่งอยู่ติดกับลำน้ำปาว ได้ส่งผลให้เกิดน้ำเอ่อล้นเข้าท่วมพื้นที่นาข้าว ในเบื้องต้นประเมินกว่า 25,000 ไร่ ในส่วนของทั้งจังหวัดคาดว่าจะมากกว่า 35,000 ไร่

ที่จ.สกลนคร ปีนี้น้ำมาเร็วและมาปริมาณมากกว่าทุกปีที่ผ่านมา ซึ่งต้องเร่งระบายน้ำออกมาเพื่อแก้ปัญหาน้ำท่วมเหนือหนองหาร โดยเฉพาะนาข้าวและบ้านเรือนราษฎรรวมไปถึงตัวเมืองด้วย โดยเฉพาะบ้านปู่พึ้ม ต.บ้านโพน ขณะนี้น้ำได้เข้าท่วมทั้งหมู่บ้านจำนวน 30 หลังคาเรือน น้ำท่วมสูง เกือบ 1 เมตร ถนนทางเข้าหมู่บ้านคือ บ้านโพนใหญ่-บ้านปู่พึ้มและสายบ้านป่าผาง-บ้านปู่พึ้ม น้ำท่วมสูงกว่า 1 เมตร ซึ่งขณะนี้ถูกตัดขาดจากโลกภายนอก และชาวบ้านกำลังอพยพสัตว์เลี้ยงไปไว้ที่สูงแล้ว ส่วนบ้านเรือนราษฎรใต้ถุนสูงได้เก็บสิ่งของไว้ที่สูงเตรียมอพยพ ย้ายมาอยู่ที่สูงหากฝนไม่หยุดตกในคืนนี้

จากรายงานของสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดสกลนคร ในพื้นที่อำเภอวาริชภูมิ,อำเภออากาศอำนวย ,อำเภอบ้านม่วง,อำเภอพรรณนา นิคม ซึ่งเป็นพื้นที่รองรับน้ำจากเทือกเขาภูพาน ซึ่งน้ำได้เอ่อล้นลำห้วยปลาหาง ,ลำน้ำยามและลำน้าสงคราม น้ำป่าได้ไหลเข้าท่วมพื้นที่การเกษตร จากการสำรวจเบื้องต้น จำนวน 80,000 ไร่

--------------------------------------------------------------------------------------
น้ำป่าทะลักอุตรดิตถ์ 5พันครัวเรือนเดือดร้อนหนัก [ ไทยรัฐ : 25 ส.ค.53 ]

เมื่อช่วงเช้ามืดวันที่ 25 ส.ค.  ได้เกิดฝนตกลงมาอย่างหนักในพื้นที่ จ.อุตรดิตถ์ เนื่องมาจากผลพวงของพายุมินดอนเล โดยเฉพาะในเขตพื้นที่ อ.ทองแสนขัน จนสามารถวัดปริมาณน้ำฝนได้ 120 มิลลิเมตร ทำให้เกิดน้ำป่าไหลหลากเข้าท่วมบ้านเรือน ไร่นา ถึง 32 หมู่บ้านใน 4 ตำบล ประกอบด้วย ต.น้ำพี้ ป่าคาย ผักขวง และบ่อทอง มีบ้านเรือนราษฎรได้รับความเดือดร้อนเกือบ 5,500 ครัวเรือน ระดับน้ำมีปริมาณสูง 1-3 เมตร ถนนเชื่อมต่อระหว่างหมู่บ้าน 50 สาย และถนนสายหลัก ถูกตัดขาดกันอย่างสิ้นเชิง รถยนต์ไม่สามารถวิ่งสัญจรไปมาได้ ชาวบ้านต้องช่วยกันขนสิ่งของเครื่องใช้ไฟฟ้า ที่นอน รถยนต์ และรถจักรยานยนต์ไว้ที่สูง ทางเจ้าหน้าที่สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต 9 จังหวัดพิษณุโลก จำนวน 20 คน พร้อมเรือท้องแบนจำนวน 5 ลำออกช่วยเหลือในการขนย้ายสิ่งของ และอพยพชาวบ้าน

ทั้งนี้ อุทกภัยที่เกิดขึ้นถือว่ารุนแรงมากกว่าปี 2538

--------------------------------------------------------------------------------------
พายุร้อนมินดอลเลแผลงฤทธิ์ทำน้ำท่วมเมืองมุกดาหาร [ ผู้จัดการออนไลน์ : 24 ส.ค.53 ]
       
        วันนี้ (24 ส.ค.) จากอิทธิพลของพายุโซนร้อน “มินดอลเล” (MINDULLE)" ในทะเลจีนใต้ตอนกลาง โดยมีศูนย์กลางอยู่ห่างประมาณ 90 กิโลเมตร ทางทิศตะวันออกของเมืองดองฮอย ประเทศเวียดนาม กำลังเคลื่อนตัวทางทิศตะวันตกค่อนทางเหนือประมาณ 18 กิโลเมตรต่อชั่วโมง คาดว่าจะเคลื่อนขึ้นฝั่งประเทศเวียดนามตอนบนในคืนวันนี้ (24 สค.53) นี้
       
        ส่งผลให้ร่องมรสุมที่พาดผ่านภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยมีกำลังแรงขึ้น โดยที่จังหวัดมุกดาหาร ได้มีฝนตกลงมาตลอดทั้งคืนและตกอย่างหนักในช่วงสายวันนี้(24สค.53) ทำให้ ถนนหลายสายในเขตเทศบาลเมืองมุกดาหาร เกิดน้ำท่วมขัง และไหลเข้าท่วมบ้านเรือนประชาชนอย่างรวดเร็ว
       
    


--------------------------------------------------------------------------------------
น้ำป่าพัดท่วม อ.วังชิ้นแพร่ ชาวบ้านหนีอลหม่าน [ โพสต์ทูเดย์ : 22 ส.ค. 53 ]

ตั้งแต่คืนวันที่  21  ส.ค.ต่อเนื่องมาจนถึงเช้าวันที่ 22 ส.ค.ได้เกิดฝนตกอย่างหนักในหลายพื้นที่ของจังหวัดแพร่ โดยเฉพาะเขต ต.สรอย อ.วังชิ้น จ.แพร่ ได้เกิดเหตุน้ำป่าไหลหลากอย่างหนัก จนชาวบ้านใน ต.สรอย ที่เคยประสบภัยน้ำท่วมมาแล้วเมื่อปี 2544 ต่างหนีตายกันอลหม่าน เนื่องจากเกรงว่าจะเกิดเหตุซ้ำรอยเช่นเดียวกับในปี 2544 ที่น้ำป่าพัดเข้าถล่มหลายหมู่บ้านในอ.วังชิ้นจนมีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก

ทั้งนี้ น้ำป่าจากห้วยแม่หละ ต.สรอย อำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่ ไหลทะลักเข้าท่วมบ้านเรือน ไร่นา ส่งผลให้พื้นที่การเกษตรเสียหายประมาณ 1,500 ไร่ บ่อปลา 40 บ่อ สถานที่ราชการอีกหลายแห่ง รวมทั้งบ้านของประชาชน กว่า 300 หลังคาเรือนได้รับความเสียหาย ฝนที่ตกอย่างหนักตลอดทั้งคืนที่ผ่านมาทำให้น้ำป่าจากลำน้ำห้วยหละ ห้วยโป่ง และห้วยแม่คำ ทั้ง 3 สายไหลทะลักเข้าร่วมบ้านเรือนราษฎร หมู่ที่5 หมู่ที่ 9 หมู่ที่ 10 และ หมู่ที่ 11 ร่วม 500 หลังคาเรือน ได้รับความเสียหาย โดยขณะน้ำหลากมีการประกาศเตือนให้ชาวบ้านหนีเอาตัวรอดก่อน เพื่อความปลอดภัยในชีวิต เนื่องจากกระแสน้ำไหลแรงมาก รุ่งเช้าเมื่อสำรวจความเสียหายเบื้องต้นพบว่า ไร่นาน เรือกสวน ได้รับความเสียหาย โดยเฉพาะข้าวที่เพิ่งปลูกเสร็จถูกน้ำท่วม บ่อปลากดุก บ่อปลานิลที่ชาวบ้านเลี้ยงไว้ ปลาทั้งหมดได้หายไปกับสายน้ำ ซึ่งอยู่ระหว่างการจับขายส่งพ่อค้า ต้องสูญเสียรายได้ไป



--------------------------------------------------------------------------------------

ด่วน! น้ำป่าหลากท่วมหมู่บ้านวังสวาทภูผาม่านขอนแก่น รองผู้ว่าฯ รุดช่วยเหลือก่อนเที่ยงวันนี้ [ ผู้จัดการออนไลน์ : 17 ส.ค. 53 ]
      
        ช่วงหัวค่ำคืนที่ผ่านมา (16 ส.ค.) ได้เกิดอุทกภัยน้ำป่าไหลหลากเข้าท่วมบ้านเรือนประชาชนในพื้นที่บ้างวังสวาท ต.วังสวาท อ.ภูผาม่าน จ.ขอนแก่น หลังจากมีฝนตกหนักต่อเนื่องติดต่อกัน 2 วัน ส่งผลให้น้ำป่าจากหุบเขาวังไหลหากเข้าท่วมบ้านเรือนชาวบ้าน-เรือกสวนไร่นาในพื้นที่ดังกล่าวจนได้รับความเสียหายจำนวนมาก
       
        โดยเฉพาะพื้นที่อำเภอที่เสี่ยงต่อภาวะดินโคลนถล่ม และน้ำป่าไหลหลาก ที่ อ.ชุมแพ ภูผาม่าน หนองเรือ อุบลรัตน์ หนองนาคำ และเวียงเก่า ซึ่งติดกับเขาค้อ เทือกเขาภูเก้า
เทือกเขาภูพานคำ และเทือกเขาภูเม็ง



--------------------------------------------------------------------------------------
น้ำป่าทะลักหลายตำบล ลำปางอ่วม หนีตายกลางดึก [ ไทยรัฐ : 14 ส.ค. 53 ]

น้ำป่าไหลทะลักเข้าท่วมหลายตำบลใน อ.แจ้ห่ม จ.ลำปาง ราษฎรกว่า 2,000 ครัวเรือน ต้องขนของหนีตายกลางดึก  ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านประกาศให้ชาวบ้านหนีน้ำแต่ตัวเองไม่รอด  โดนไฟดูดตายสยอง

ลำปางยังวิกฤติจากอุทกภัย เมื่อเวลา 07.00 น. วันที่ 14 ส.ค.  ประชาชนประสบภัย 7 ตำบล  สถานการณ์ยังน่าเป็นห่วง  เนื่องจากระดับน้ำในลำน้ำแม่สอยล้นตลิ่ง คาดว่าจะเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง เพราะป่าอุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน ฝนตกลงมาอย่างหนัก ทำให้เกิดน้ำป่าไหลลงมา  บ้านเรือนราษฎรในพื้นที่ ต.แจ้ซ้อน และ ต.หัวเมือง อ.เมืองปาน และอ.เมืองลำปาง ซึ่งเป็นเขตติดต่อ ทำให้ 6 หมู่บ้าน ใน ต.บ้านแลง อ.เมืองลำปาง ถูกน้ำป่าท่วมเป็นรอบที่ 2

ส่วนผู้ประสบภัยไม่ต่ำกว่า 2,000 ครัวเรือน และ มีผู้เสียชีวิต 1 ราย ชื่อ นายบุตร เทพบุญ อายุ 56 ปี เป็นผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 10 บ้านแม่อางวังยวม ต.บ้านแลง อ.เมืองลำปาง ถูกไฟฟ้าซ็อตขณะกำลังจะเสียบปลั๊กติดเครื่องขยายเสียง เพื่อประกาศให้ชาวบ้านหนีเพราะน้ำป่าไหลเข้าท่วมหมู่บ้านแล้ว ขณะเดียวกันน้ำป่าก็ซัดร่างจมหายไป  ต่อมาหน่วยกู้ภัยหาศพพบห่างจากหมู่บ้าน 3 กิโลเมตร

และมีการประกาศเตือนภัยพื้นที่ อ.เมืองลำปาง  ซึ่งเป็นพื้นที่ที่อยู่ทางทิศใต้ติด อ.แจ้ห่ม  เพราะเกรงว่า แม่น้ำวังที่มีลำน้ำแม่สอยลงไปสมทบจะมีปริมาณเพิ่มมากขึ้น  ประกอบกับเขื่อนกิ่วลมความจุ 116 ล้านลูกบาศก์เมตร ที่มีน้ำเกือบเต็มความจุ ซึ่งขณะนี้มีมากกว่า 82 ล้านลูกบาศก์เมตร  เขื่อนจำเป็นต้องปล่อยน้ำออกปริมาณมาก เพื่อเป็นการผันน้ำและเตรียมรับน้ำใหม่ที่จะไหลลงมาในเขื่อน ส่งผลให้แม่น้ำวังอาจเอ่อล้นท่วมบ้านราษฎรได้และจะทำให้  อ.เมืองลำปางโดยเฉพาะในเขตเทศบาลนครลำปางที่อยู่ริมฝั่งแม่น้ำวังปริมาณน้ำจะท่วมสูง

อำเภอแจ้ห่ม จ.ลำปาง น้ำท่วมบ้านราษฎรราว 1,260 หลัง  ระดับน้ำความสูง 1 - 2 เมตร กระจายใน 7 ตำบลของ อ.แจ้ห่ม นับว่าเป็นภัยทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นเป็นครั้งที่ 2 แต่ครั้งนี้รุนแรงกว่าครั้งที่ผ่านมา

--------------------------------------------------------------------------------------
ฝนถล่มเชียงใหม่หนักสุดในรอบ 5 ปี หวั่นน้ำท่วมเชียงดาว [ มติชน : 12 ส.ค. 53 ]

วันที่ 12 สิงหาคม เกิดเหตุแม่น้ำปิงในพื้นที่ อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่ ไหลเอ่อเข้าทวมบ้านเรือนราษฎรที่ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำบริเวณบ้านออน ม.1 และบ้านป่าตึงงาม ม.14 ต.ปิงโค้ง ส่งผลให้สะพานไม้ซึ่งมีสภาพเก่าบริเวณดังกล่าวซึ่งใช้สัญตรไปมาในหมู่บ้านขาดครึ่งและคอสะพานหัก ส่วนที่บ้านสบอ้อ ต.เมืองนะ มีน้ำป่าหลากลงริมห้วยเกิดน้ำท่วมขังสูง 10 เซนติเมตร เรือกสวนไร่นาข้า ข้าวโพด และสวนมะละกอ มีน้ำขังเสียหายเป็นบริเวณกว้าง

โดยปริมาณฝนตกสูงสุดในรอบ 24 ชั่วโมงล่าสุดวัดได้ 120.1 มม.ที่ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ จึงเป็นเหตุให้เกิดน้ำท่วมขังสูงในเขตตัวเมืองเชียงใหม่และพื้นที่ใกล้เคียงโดยเฉพาะในพื้นที่ต่ำตามชุมชนในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ซึ่ง ถือว่าเป็นปริมาณฝนที่ตกหนักมากในรอบ 5 ปี แต่ที่น่าห่วงคือสถานการณ์น้ำท่วมในเขต อ.เชียงดาว เพราะระดับน้ำปิงเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ โดยบริเวณเชียงดาวฮิลล์รีสอร์ท และโครงการหลวงห้วยลึก ระดับน้ำปิงเอ่อล้นตลิ่งแล้ว

--------------------------------------------------------------------------------------
น่านวิกฤตหนักน้ำล้นอ่าง เตรียมอพยพชาวบ้านด่วน [ ผู้จัดการออนไลน์ : 9 ส.ค.53 ]
       
        หลังฝนตกหนักติดต่อกันตั้งแต่เมื่อคืนที่ผ่านมา ส่งผลให้ล่าสุดวันนี้(9 ส.ค.)เวลา 10.00 น. เกิดเหตุน้ำท่วมฉับพลันเข้าท่วมบ้านเรือนราษฎร ในพื้นที่ชุมชนบ้านแสงดาว และชุมชนบ้านท่าล้อ ต.ฝายแก้ว อ.ภูเพียง ซึ่งเป็นชุมชนอยู่ติดริมแม่น้ำน่าน และที่บ้านหนองเต่า ม.3 ต.ม่วงตึ๊ด อ.ภูเพียง จ.น่าน
       
        บ้านบางหลังคาเรือนอยู่ต่ำกว่าถนน ยังคงถูกน้ำท่วมขังสูงระดับกว่า 50 เซนติเมตร และน้ำยังไหลเข้าท่วมตามถนนเส้นทางสัญจรในหมู่บ้านหนองเต่าหลายจุด  
น้ำจากลำน้ำต่างๆ ได้ไหลรวมลงอ่างเก็บน้ำขนาดเล็กบ้านนิคม ม.15 ต.ฝายแก้ว อ.ภูเพียง จ.น่าน จนขณะนี้น้ำได้ล้นอ่าง และไหลทะลักออกสู่พื้นที่การเกษตรซึ่งเป็นไร่ นา ของชาวบ้านแล้ว
       
        อย่างไรก็ตาม ขณะนี้ชาวบ้านต่างพากันวิตกกังวลว่าหากยังคงมีฝนตกลงมาอีกอย่างต่อเนื่อง จะส่งผลให้น้ำไหลเข้าท่วมบ้านหนองเต่า ม.3 เพิ่มอีกเนื่องจากหมู่บ้านอยู่ต่ำกว่าระดับอ่างเก็บน้ำนิคมแห่งนี้ คงต้องขนย้ายหรืออพยพชาวบ้าน
       
        ที่ผ่านมากว่า 20 ปี อ่างเก็บน้ำบ้านนิคม ไม่เคยเกิดเหตุการณ์ปริมาณน้ำมากจนไม่สามารถรองรับน้ำได้ ซึ่งครั้งนี้เป็นครั้งแรกที่น้ำล้นจากอ่างเก็บน้ำแห่งนี้
       
        ขณะที่ระดับน้ำในแม่น้ำเพิ่มสูงขึ้น และได้เอ่อล้นเข้าท่วมชุมชนในเขตเทศบาลเมืองน่าน ซึ่งเป็นชุมชนอยู่ต่ำและน้ำท่วมซ้ำซาก ได้แก่ ชุมชนบ้านพวงพะยอม-ท่าลี่ ชุมชนบ้านสวนตาล ชุมชนบ้านเมืองเลน ชุมชนบ้านดอนศรีเสริมกสิกร และชุมชนบ้านอรัญญาวาส ก็เกิดน้ำท่วมฉับพลัน
       



--------------------------------------------------------------------------------------
น้ำป่าทะลักท่วม อ.แม่จัน เชียงราย [ เดลินิวส์ : 6 ส.ค. 53 ]

วันนี้ ( 6  ส.ค.) ที่ จ.เชียงราย ได้เกิดฝนตกหนักต่อเนื่องตลอดทั้งคืนที่ผ่านมา  ส่งผลทำให้ระดับน้ำในแม่น้ำจัน ได้เอ่อล้นเข้าท่วมบ้านเรือนราษฎรใน 5 หมู่บ้าน ของ ต.ป่าตึง และเข้าท่วมในตลาดสดเขตเทศบาล ต.แม่จัน ระดับน้ำที่เข้าท่วมนครั้งนี้ถือว่าสูงมากกว่าทุกครั้งในรอบ 10 ปี บางจุดมีน้ำท่วมสูงเกินกว่า 2 เมตร และไหลเข้าท่วมถนนพหลโยธิน ซึ่งเป็นถนนสวนกัน 4  ช่องจราจร ส่งผลให้รถเล็กไม่สามารถสัญจรผ่านไปมาได้ ประชาชนที่มีร้านค้าและบ้านพักต้องขนข้าวของหนีน้ำกันอย่างโกลาหล โดยมีเทศบาลตำบลแม่จัน และ องค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) ป่าตึง สาเหตุที่น้ำท่วมมากเช่นนี้ เพราะได้เกิดฝนตกหนักติดต่อกันตลอดทั้งคืนที่ผ่านมา ทำให้มีน้ำป่าไหลทะลักลงมาจากบนดอยสูง ไหลลงสู่แม่น้ำจันที่ตื้นเขิน และเอ่อเข้าท่วมบ้านเรือนดังกล่าว ในเบื้องต้นพบว่า มีบ้านเรือนของประชาชนถูกน้ำท่วมประมาณ 20 หมู่บ้านในเขต ต.ป่าตึง และเทศบาล ต.แม่จัน รวมกันกว่า 1,000 หลังคาเรือน ส่วนพื้นที่ทางการเกษตรถูกน้ำท่วมเป็นบริเวณกว้าง และพบมีผู้ได้รับบาดเจ็บจากการถูกงูกัด 1 รายถูกนำส่งโรงพยาบาล แต่ไม่มีผู้เสียชีวิตแต่อย่างไร มีไร่-นาได้รับความเสียหายอยู่ระหว่างการสำรวจ

--------------------------------------------------------------------------------------

ข้อมูลอ้างอิง
  • ไทยรัฐ : http://www.thairath.co.th
  • ผู้จัดการออนไลน์ : http://www.manager.co.th/
  • โพสต์ทูเดย์ : http://www.posttoday.com
  • เดลินิวส์ : http://www.dailynews.co.th