บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมจากอิทธิพลของพายุแกมี "GAEMI" (1-10 ตุลาคม 2555 )
3/10/55 19.00 น. - 4/10/55 19.00 น. |
4/10/55 19.00 น. - 5/10/55 19.00 น. |
5/10/55 19.00 น. - 6/10/55 19.00 น. |
6/10/55 19.00 น. - 7/10/55 19.00 น. |
7/10/55 19.00 น. - 8/10/55 19.00 น. |
8/10/55 19.00 น. - 9/10/55 19.00 น. |
9/10/55 19.00 น. - 10/10/55 19.00 น. |
ภาพเส้นทางพายุแกมี "GAEMI" โดย UNISYS Weather |
ที่มา : http://weather.unisys.com/hurricane/index.php พายุโซนร้อน “แกมี” (GAEMI) ในทะเลจีนใต้ตอนกลางได้เคลื่อนขึ้นฝั่งเมืองกวีนอน ประเทศเวียดนามในวันที่ 6 ต.ค. 55 จากนั้นเคลื่อนตัวผ่านประเทศกัมพูชาพร้อมทั้งอ่อนกำลังลงเป็นพายุดีเปรสชั่นก่อนเคลื่อนเข้าสู่ประเทศไทยบริเวณจังหวัดสระแก้ว เมื่อเวลา 22.00 น. ของวันที่ 7 ต.ค. 55 และอ่อนกำลังลงเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำปกคลุมบริเวณภาคตะวันออกในวันที่ 8 ต.ค. 55 ก่อนเคลื่อนตัวตามแนวร่องมรสุมที่พาดผ่านภาคกลางตอนล่างและภาคใต้ตอนบนในเวลาต่อมา |
ภาพถ่ายดาวเทียม GOES-9 โดย มหาวิทยาลัยโคชิ | |||
3/10/2555[12GMT] |
4/10/2555[09GMT] |
5/10/2555[10GMT] |
6/10/2555[11GMT] |
7/10/2555[09GMT] |
8/10/2555[11GMT] |
9/10/2555[07GMT] |
10/10/2555[10GMT] |
ภาพแผนที่อากาศ โดย กรมอุตุนิยมวิทยา | ||||
1/10/2555[07UTC] |
2/10/2555[07UTC] |
3/10/2555126UTC] |
4/10/2555[12UTC] |
5/10/2555[12UTC] |
6/10/2555[19UTC] |
7/10/2555[19UTC] |
8/10/2555[19UTC] |
9/10/2555[19UTC] |
10/10/2555[19UTC] |
แผนที่อากาศระดับความสูง 1.5 ก.ม. โดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร |
|||||||||
1/10/2555[07น.] |
1/10/2555[19น.] |
2/10/2555[07น.] |
2/10/2555[19น.] |
3/10/2555[07น.] |
3/10/2555[19น.] |
4/10/2555[07น.] |
4/10/2555[19น.] |
5/10/2555[07น.] |
5/10/2555[19น.] |
6/10/2555[07น.] |
6/10/2555[19น.] |
7/10/2555[07น.] |
7/10/2555[19น.] |
8/10/2555[07น.] |
8/10/2555[19น.] |
9/10/2555[07น.] |
9/10/2555[19น.] |
10/10/2555[07น.] |
10/10/2555[19น.] |
|
แผนที่ความเร็วลมที่ระดับความสูง 1.5 ก.ม. โดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร |
|||||||||
1/10/2555[07น.] |
1/10/2555[19น.] |
2/10/2555[07น.] |
2/10/2555[19น.] |
3/10/2555[07น.] |
3/10/2555[19น.] |
4/10/2555[07น.] |
4/10/2555[19น.] |
5/10/2555[07น.] |
5/10/2555[19น.] |
6/10/2555[07น.] |
6/10/2555[19น.] |
7/10/2555[07น.] |
7/10/2555[19น.] |
8/10/2555[07น.] |
8/10/2555[19น.] |
9/10/2555[07น.] |
9/10/2555[19น.] |
10/10/2555[07น.] |
10/10/2555[19น.] |
|
ภาพเรดาร์ตรวจอากาศ โดย กรมอุตุนิยมวิทยา | ||||
เรดาร์อุบลราชธานี รัศมี 120 กิโลเมตร | ||||
1/10/2555 [11:33GMT] |
2/10/2555 [16:33GMT] |
3/10/2555 [06:33GMT] |
4/10/2555 [23:33GMT] |
5/10/2555 [19:33GMT] |
6/10/2555 [19:33GMT] |
7/10/2555 [11:33GMT] |
8/10/2555 [14:33GMT] |
9/10/2555 [11:33GMT] |
10/10/2555 [06:33GMT] |
dBz ดูรายละเอียดเพิ่มเติม :http://www.thaiwater.net/DATA/REPORT/php/radar/show_svpradar.php |
||||
เรดาร์สุรินทร์ รัศมี 120 กิโลเมตร | ||||
1/10/2555 [12:00GMT] |
2/10/2555 [14:00GMT] |
3/10/2555 [14:00GMT] |
4/10/2555 [17:00GMT] |
5/10/2555 [22:00GMT] |
6/10/2555 [20:00GMT] |
7/10/2555 [15:00GMT] |
8/10/2555 [17:00GMT] |
9/10/2555 [11:00GMT] |
10/10/2555 [11:00GMT] |
dBz ดูรายละเอียดเพิ่มเติม :http://www.thaiwater.net/DATA/REPORT/php/radar/show_srnradar.php |
||||
เรดาร์สุวรรณภูมิ รัศมี 240 กิโลเมตร | ||||
1/10/2555 [11:29GMT] |
2/10/2555 [23:29GMT] |
|
4/10/2555 [13:29GMT] |
5/10/2555 [15:29GMT] |
6/10/2555 [03:29GMT] |
7/10/2555 [23:29GMT] |
8/10/2555 [05:29GMT] |
9/10/2555 [20:29GMT] |
10/10/2555 [21:29GMT] |
dBz ดูรายละเอียดเพิ่มเติม :http://www.thaiwater.net/DATA/REPORT/php/radar/show_svpradar.php |
||||
หมายเหตุ : เวลาประเทศไทย = เวลา GMT + 7 ชั่วโมง จากเครือข่ายภาพเรดาร์ตรวจอากาศของกรมอุตุนิยมวิทยา เรดาร์อุบลราชธานี เรดาร์สุรินทร์ และเรดาร์สุวรรณภูมิ พบว่าช่วงวันที่ 5-7 ต.ค. 55 มีกลุ่มฝนมากบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาคกลาง จากนั้นกลุ่มฝนได้เคลื่อนตัวไปทางตะวันตกและประเทศและภาคใต้ตอนบน ช่วงวันที่ 8-10 ต.ค. 55 |
ภาพเรดาร์ตรวจอากาศ โดย สำนักงานฝนหลวงและการบินเกษตร | ||||
เรดาร์ชะอำ รัศมี 240 กิโลเมตร | ||||
1/10/2555 [12:00] |
2/10/2555 [15:00] |
3/10/2555 [14:00] |
4/10/2555 [15:00] |
5/10/2555 [15:00] |
6/10/2555 [19:00] |
7/10/2555 [18:00] |
8/10/2555 [13:00] |
9/10/2555 [15:00] |
10/10/2555 [15:00] |
dBz |
แผนภาพแสดงปริมาณฝนสะสมรายวัน โดย NASA | ||||
1/10/55[00Z]-2/10/55[00Z] |
2/10/55[00Z]-3/10/55[00Z] |
3/10/55[00Z]-4/10/55[00Z] |
4/10/55[00Z]-5/10/55[00Z] |
5/10/55[00Z]-6/10/55[00Z] |
6/10/55[00Z]-7/10/55[00Z] |
7/10/55[00Z]-8/10/55[00Z] |
8/10/55[00Z]-9/10/55[00Z] |
9/10/55[00Z]-10/10/55[00Z] |
10/10/55[00Z]-11/10/55[00Z] |
mm.
|
รายละเอียดเพิ่มเติม : http://disc2.nascom.nasa.gov/Giovanni/tovas/realtime.3B42RT.2.shtml
จากแผนภาพแสดงปริมาณฝนสะสมรายวันของ NASA พบว่าช่วงวันที่ 5-9 ต.ค. 55 มีกลุ่มฝนกระจุกตัวกันมากบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคกลาง
และด้านตะวันตกของประเทศ เนื่องจากได้รับอิทธิพลจากร่องความกดอากาศที่สลายตัวจากพายุดีเปรสชั่นแกมี "GAEMI" โดยเฉพาะช่วงวันที่ 8-9 ต.ค. ที่มีฝนตกหนัก
ด้านตะวันตกของประเทศทำให้เกิดน้ำท่วมฉับพลันที่ อ.สวนผึ้ง และ อ.จอมบึง จ.ราชบุรี อ.ด่านมะขามเตี้ย และ อ.เมือง จ.กาญจนบุรี
ปริมาณฝนสะสมรายวันจากสถานีตรวจอากาศ โดย กรมอุตุนิยมวิทยา
รายงานข้อมูลปริมาณฝนสะสมรายวันจากสถานีตรวจอากาศกรมอุตุนิยมวิทยาช่วงวันที่ 1-10 ต.ค. 55
บริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาคกลาง พบว่าสถานีที่มีฝนตกเกิน 50 มิลลิเมตรต่อวัน
แสดงดังตารางด้านล่าง
วันที่ |
สถานี |
จังหวัด |
ปริมาณฝนสะสมรายวัน(มม.) |
9/10/2012 | ชลบุรี | ชลบุรี | 54.8 |
8/10/2012 | ตากฟ้า | นครสวรรค์ | 92.1 |
อู่ทอง (1) | สุพรรณบุรี | 61.8 |
|
นครสวรรค์ | นครสวรรค์ | 57.6 |
|
บัวชุม (2) | ลพบุรี | 53.7 |
|
7/10/2012 | ดอยมูเซอ (1) | ตาก | 83.7 |
ตาก | ตาก | 63.6 |
|
6/10/2012 | ฉะเชิงเทรา (1) | ฉะเชิงเทรา | 68.9 |
นครราชสีมา | นครราชสีมา | 50.2 |
|
5/10/2012 | พัทยา | ชลบุรี | 73.2 |
จันทบุรี | จันทบุรี | 52.6 |
|
นครราชสีมา | นครราชสีมา | 50.7 |
|
3/10/2012 | เกาะสีชัง | ชลบุรี | 59.3 |
วันที่ |
สถานี |
ตำบล |
อำเภอ |
จังหวัด |
ปริมาณฝนสะสมรายวัน(มม.) |
2012-10-23 | แยกชะอำ | ชะอำ | ชะอำ | เพชรบุรี | 50.0 |
2012-10-15 | วังรีรีสอร์ท | เขาพระ | เมืองนครนายก | นครนายก | 60.8 |
หนองบอน | หนองบอน | บ่อไร่ | ตราด | 51.6 |
|
2012-10-10 | ปลายโพงพาง | ยี่สาร | อัมพวา | สมุทรสงคราม | 56.8 |
2012-10-09 | น้ำตกเก้าชั้น | สวนผึ้ง | สวนผึ้ง | ราชบุรี | 111.6 |
หมู่บ้านนันทวรรณ | บางขุนกอง | บางกรวย | นนทบุรี | 64.4 |
|
บางกระเจ้า | ชัยมงคล | เมืองสมุทรสาคร | สมุทรสาคร | 63.8 |
|
2012-10-08 | น้ำตกเก้าชั้น | สวนผึ้ง | สวนผึ้ง | ราชบุรี | 110.8 |
ตากฟ้า | สุขสำราญ | ตากฟ้า | นครสวรรค์ | 99.8 |
|
บ่อพลอย | บ่อพลอย | บ่อพลอย | กาญจนบุรี | 85.0 |
|
รพ.ป้อมพระจุล | แหลมฟ้าผ่า | พระสมุทรเจดีย์ | สมุทรปราการ | 83.0 |
|
วัดไทรทอง | จรเข้เผือก | ด่านมะขามเตี้ย | กาญจนบุรี | 79.2 |
|
ห้วยปลาหลด | ด่านแม่ละเมา | แม่สอด | ตาก | 73.8 |
|
กลัดหลวง | กลัดหลวง | ท่ายาง | เพชรบุรี | 58.8 |
|
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร เขต7 | บางหลวง | สรรพยา | ชัยนาท | 53.2 |
|
ทุ่งแหลม | ป่าหวาย | สวนผึ้ง | ราชบุรี | 52.2 |
|
หนองมะค่า | หนองมะค่า | โคกเจริญ | ลพบุรี | 51.8 |
|
ห้วยกะทะทอง | ศรีมงคล | ไทรโยค | กาญจนบุรี | 51.2 |
|
2012-10-07 | ห้วยกรด | สรรพยา | สรรพยา | ชัยนาท | 50.6 |
2012-10-06 |
กลัดหลวง | กลัดหลวง | ท่ายาง | เพชรบุรี | 53.4 |
2012-10-05 | เปร็ดใน | ห้วงน้ำขาว | เมืองตราด | ตราด | 105.8 |
บ้านเพีย | ท่าสะอาด | นาด้วง | เลย | 83.0 |
|
โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร | ในเมือง | เมืองหนองคาย | หนองคาย | 70.4 |
|
โพนพิสัย | จุมพล | โพนพิสัย | หนองคาย | 64.8 |
|
หนองแอก | บ้านโพธิ์ | โพนพิสัย | หนองคาย | 57.6 |
|
ลาดยาว | ลาดยาว | ลาดยาว | นครสวรรค์ | 53.4 |
|
เหล่ากอหก | เหล่ากอหก | นาแห้ว | เลย | 53.2 |
|
พล | โนนข่า | พล | ขอนแก่น | 50.4 |
|
2012-10-04 | บ้านพุ่มแก | ธาตุพนม | ธาตุพนม | นครพนม | 67.8 |
บ้านหนองเม็ก | สามัคคี | เลิงนกทา | ยโสธร | 67.2 |
|
อบต.ตลาดไทร | ตลาดไทร | ชุมพวง | นครราชสีมา | 64.4 |
|
คำอาฮวน | ศรีบุญเรือง | เมืองมุกดาหาร | มุกดาหาร | 60.4 |
|
บึงสวรรค์ | โคกก่อง | บึงกาฬ | บึงกาฬ | 51.4 |
|
2012-10-03 | บ้านหนองขอน | พลิ้ว | แหลมสิงห์ | จันทบุรี | 64.0 |
ห้วยคต | ห้วยคต | ห้วยคต | อุทัยธานี | 50.4 |
|
2012-10-02 | พลูตาหลวง | พลูตาหลวง | สัตหีบ | ชลบุรี | 65.0 |
ปริมาณน้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ โดย กรมชลประทาน |
|
ปริมาณน้ำไหลเข้าอ่างเก็บน้ำเขื่อนคลองสียัด |
ปริมาณน้ำไหลเข้าอ่างเก็บน้ำเขื่อนประแสร์ |
ปริมาณน้ำไหลเข้าอ่างเก็บน้ำเขื่อนลำตะคอง |
ปริมาณน้ำไหลเข้าอ่างเก็บน้ำเขื่อนลำพระเพลิง |
ปริมาณน้ำไหลเข้าอ่างเก็บน้ำเขื่อนปราณบุรี |
ปริมาณน้ำไหลเข้าอ่างเก็บน้ำเขื่อนศรีนครินทร์ |
รายละเอียดเพิ่มเติม : http://www.thaiwater.net/DATA/REPORT/php/rid_bigcm.html หย่อมความกดอากาศต่ำที่สลายตัวจากพายุดีเปรสชั่นแกมี "GAEMI" ทำให้เกิดฝนตกหลายพื้นที่ ในช่วงวันที่ 6-10 ต.ค. 55 แต่้ปริมาณน้ำที่ไหลลงอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ที่อยู่ในแนวร่องฝน มีเพียงเล็กน้อยเท่านั้น |
ระดับน้ำจากสถานีตรวจวัดระดับน้ำท่า โดย กรมชลประทาน |
||
(K.10) บ้านลุ่มสุ่ม อ.ไทรโยค จ.กาญจนบุรี |
(K.12) บ้านทุ่งนานางรอง อ.เมือง จ.กาญจบุรี |
|
(K.17) บ้านบ่อ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี |
(K.37) บ้านวังเย็น อ.เมือง จ.กาญจนบุรี |
|
รายละเอียดเพิ่มเติม : http://www.thaiwater.net/DATA/REPORT/php/show_itcwater.php |
ระดับน้ำจากระบบโทรมาตร โดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร |
|
สถานี MUN002 ต. หนองยาง อ. เฉลิมพระเกียรติ จ. นครราชสีมา ระดับน้ำสูงสุด 166.14 ม.รทก. วันที่ 14 ต.ค. 55 |
สถานี MUN003 ต. โบสถ์ อ. พิมาย จ. นครราชสีมา ระดับน้ำสูงสุด 147.68 ม.รทก. วันที่ 13 ต.ค. 55 |
สถานี THA005 ต. ท่าพี่เลี้ยง อ. เมืองสุพรรณบุรี จ. สุพรรณบุรี ระดับน้ำสูงสุด 3.20 ม.รทก. วันที่ 11 ต.ค. 55 |
สถานี THA007 ต. บางเลน อ. บางเลน จ. นครปฐม ระดับน้ำสูงสุด 2.54 ม.รทก. วันที่ 13 ต.ค. 55 |
|
สถานี RAJ001 ต. เจ็ดเสมียน อ. โพธาราม จ. ราชบุรี ระดับน้ำสูงสุด 5.07 ม.รทก. วันที่ 11 ต.ค. 55 |
จากการตรวจวัดระดับน้ำจากระบบโทรมาตร ของ สสนก. พบว่าการที่มีฝนตกหนักช่วงวันที่ 6-9 ต.ค. 55 จากอิทธิพลของหย่อมความกดอากาศต่ำที่สลายตัวจากพายุแกมี ส่งผลให้ระดับน้ำในลำน้ำสายหลัก
เพิ่มขึ้นจากเดิมเพียงเล็กน้อย ยกเว้นที่ราชบุรี ที่ระดับน้ำเพิ่มขึ้นมากแต่ยังไม่ล้นตลิ่ง
ภาพถ่ายดาวเทียมแสดงพื้นที่น้ำท่วม โดย สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (GISTDA)
รายงานการติดตามพื้นที่น้้าท่วม ปี 2555 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม RADARSAT-2 บันทึกภาพวันที่ 4 ตุลาคม 2555 เวลา 06.15 บริเวณบางส่วนของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สุพรรณบุรี ปราจีนบุรี พิจิตร ฉะเชิงเทรา สุโขทัย นครสวรรค์ พิษณุโลก นครปฐม นครนายก ลพบุรี อ่างทอง สิงห์บุรี ชัยนาท ปทุมธานี สระบุรี ชลบุรี อุตรดิตถ์ นนทบุรี ชัยภูมิ เพชรบูรณ์ ขอนแก่น หนองคาย อุดรธานี สระแก้ว นครราชสีมา และอุทัยธานี อ่านรายงานเพิ่มเติม |
รายงานการติดตามพื้นที่น้้าท่วม ปี 2555 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม RADARSAT-2 บันทึกภาพวันที่ 5 ตุลาคม 2555 เวลา 18.26 น. บริเวณบางส่วนของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สุพรรณบุรี ปราจีนบุรี พิจิตร ฉะเชิงเทรา กรุงเทพมหานคร ฉะเชิงเทรา สุโขทัย นครสวรรค์ พิษณุโลก นครปฐม นครนายก อ่างทอง ปทุมธานี สิงห์บุรี ลพบุรี ชัยนาท สระบุรี ชลบุรี กรุงเทพมหานคร อุตรดิตถ์ นนทบุรี สมุทรปราการ และเพชรบูรณ์ อ่านรายงานเพิ่มเติม |
||
รายงานการติดตามพื้นที่น้้าท่วม ปี 2555 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม RADARSAT-1 บันทึกภาพวันที่ 6 ตุลาคม 2555 เวลา 06.01 น. บริเวณบางส่วนของจังหวัดปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี นครนายก ชัยภูมิ ขอนแก่น และสระแก้ว อ่านรายงานเพิ่มเติม |
รายงานการติดตามพื้นที่น้้าท่วม ปี 2555 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม RADARSAT-1 บันทึกภาพวันที่ 7 ตุลาคม 2555 เวลา 18.16 น. บริเวณบางส่วนของจังหวัดปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา นครนายก พิจิตร ชลบุรี เพชรบูรณ์ พิษณุโลก ชัยภูมิ นครราชสีมา ขอนแก่น ปทุมธานี สระบุรี หนองคาย อุดรธานี นครสวรรค์ บุรีรัมย์ สุรินทร์ สระแก้ว กรุงเทพมหานคร และจังหวัดร้อยเอ็ด อ่านรายงานเพิ่มเติม |
||
รายงานการติดตามพื้นที่น้้าท่วม ปี 2555 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม RADARSAT-2 บันทึกภาพวันที่ 9 ตุลาคม 2555 เวลา 18.10 น. บริเวณบางส่วนของจังหวัดสกลนคร อุดรธานี สุรินทร์ หนองคาย ขอนแก่น นครพนม ศรีสะเกษ ร้อยเอ็ด บุรีรัมย์ นครราชสีมา บึงกาฬ ยโสธร อุบลราชธานี มหาสารคาม กาฬสินธุ์ อ้านาจเจริญ อ่านรายงานเพิ่มเติม |
รายงานการติดตามพื้นที่น้้าท่วม ปี 2555 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม RADARSAT-1 บันทึกภาพวันที่ 9 ตุลาคม 2555 เวลา 06.12 น. บริเวณบางส่วนของจังหวัดสุพรรณบุรี พระนครศรีอยุธยา นครปฐม นครสวรรค์ พิจิตร สุโขทัย พิษณุโลก อ่างทอง ลพบุรี สิงห์บุรี ก้าแพงเพชร ชัยนาท สระบุรี ปทุมธานี ฉะเชิงเทรา ราชบุรี นนทบุรี อุตรดิตถ์ นครนายก สมุทรปราการ อุทัยธานี กาญจนบุรี และกรุงเทพมหานคร อ่านรายงานเพิ่มเติม |
||
รายงานการติดตามพื้นที่น้้าท่วม ปี 2555 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม RADARSAT-1 บันทึกภาพวันที่ 10 ตุลาคม 2555 เวลา 18.27 น. บริเวณบางส่วนของจังหวัดสุพรรณบุรี พระนครศรีอยุธยา ปราจีนบุรี นครสวรรค์ พิจิตร ฉะเชิงเทรา สุโขทัย นครปฐม พิษณุโลก ลพบุรี อ่างทอง นครนายก สิงห์บุรี ชัยนาท ปทุมธานี สระบุรี ชลบุรี นนทบุรี ก้าแพงเพชร อุตรดิตถ์ ราชบุรี สมุทรปราการ กรุงเทพมหานคร เพชรบูรณ์ และอุทัยธานี อ่านรายงานเพิ่มเติม |
รายงานการติดตามพื้นที่น้้าท่วม ปี 2555 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม RADARSAT-2 บันทึกภาพวันที่ 11 ตุลาคม 2555 เวลา 06.08 น. บริเวณบางส่วนของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา นครปฐม สุพรรณบุรี นครนายก ลพบุรี อ่างทอง สิงห์บุรี ชลบุรี ปทุมธานี สระบุรี นครสวรรค์ นนทบุรี กรุงเทพมหานคร นครราชสีมา ชัยภูมิ ขอนแก่น สมุทรปราการ อุดรธานี หนองคาย เพชรบูรณ์ สกลนคร บึงกาฬ บุรีรัมย์ สุรินทร์ และจังหวัดมหาสารคาม อ่านรายงานเพิ่มเติม |
||
รายงานการติดตามพื้นที่น้้าท่วม ปี 2555 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม RADARSAT-2 บันทึกภาพวันที่ 14 ตุลาคม 2555 เวลา 05.19 น. บริเวณบางส่วนของจังหวัดนครสวรรค์ สุพรรณบุรี สุโขทัย พิจิตร พิษณุโลก อุตรดิตถ์ ชัยนาท ก้าแพงเพชร ราชบุรี และอุทัยธานี อ่านรายงานเพิ่มเติม |
รายงานการติดตามพื้นที่น้้าท่วม ปี 2555 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม RADARSAT-1 บันทึกภาพวันที่ 17 ตุลาคม 2555 เวลา 18.23 น. บริเวณบางส่วนของจังหวัดสุพรรณบุรี พระนครศรีอยุธยา นครสวรรค์ นครปฐม ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา พิจิตร ลพบุรี พิษณุโลก นครนายก อ่างทอง สิงห์บุรี ปทุมธานี ชัยนาท สระบุรี ชลบุรี นนทบุรีสมุทรปราการ ราชบุรี กรุงเทพมหานคร อุทัยธานี และเพชรบูรณ์ อ่านรายงานเพิ่มเติม |
ข้อมูลด้านความเสียหาย โดย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
รายงานเหตุด่วนสถานการณ์ อุทกภัย วาตภัย ดินโคลนถล่ม ประจำวันที่ 9 ตุลาคม 2555
(ตัดมาเฉพาะส่วนรายงานอุกทกภัยบริเวณจังหวัดราชบุรีและกาญจนบุรี)
1) จังหวัดราชบุรี วันที่ 8 ตุลาคม 2555 ฝนตกหนักทำให้ป่าไหลหลากเข้าท่วมในพื้นที่ 2 อำเภอ 3 ตำบล ได้แก่ อำเภอสวนผึ้ง ตำบลสวนผึ้ง ตำบลตะนาวศรี และอำเภอจอมบึง ตำบลแก้มอ้น ปัจจุบันสถานการณ์ระดับน้ำลดลง หากฝนไม่ตกเพิ่มคาดว่าจะเข้าสู่ภาวะปกติในวันพรุ่งนี้
2) จังหวัดกาญจนบุรี วันที่ 8 ตุลาคม 2555 ฝนตกหนักทำให้เกิดน้ำป่าไหลหลากเข้าท่วมในพื้นที่ 2 อำเภอ 3 ตำบล ได้แก่ อำเภอด่านมะขามเตี้ย ตำบลหนองไผ่ ตำบลด่านมะขามเตี้ย และอำเภอเมือง ตำบลบ้านเก่า ปัจจุบันสถานการณ์น้ำจากราชบุรียังคงไหลเข้าท่วมในพื้นที่
---------------------------------------------------------
รายงานเหตุด่วนสถานการณ์ อุทกภัย วาตภัย ดินโคลนถล่ม ประจำวันที่ 10 ตุลาคม 2555
(ตัดมาเฉพาะส่วนรายงานสถานการณ์อุทกภัย)
สถานการณ์ปัจจุบันยังคงมีพื้นที่ประสบอุทกภัย 10 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดกาญจนบุรี ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา พิษณุโลก พิจิตร อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา สุพรรณบุรี นครปฐม และจังหวัดสมุทรปราการ รวม 42 อำเภอ 339 ตำบล 2,144 หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน 112,010 ครัวเรือน 325,474 คน สำหรับสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่จังหวัดราชบุรี และจังหวัดเพชรบุรี ปัจจุบันสถานการณ์คลี่คลายอยู่ระหว่างฟื้นฟู
- ลุ่มน้ำแม่กลอง
1) จังหวัดกาญจนบุรี ฝนตกหนักทำให้เกิดน้ำป่าไหลหลากเข้าท่วมในพื้นที่ 2 อำเภอ 3 ตำบล ได้แก่ อำเภอด่านมะขามเตี้ย ตำบลหนองไผ่ ตำบลด่านมะขามเตี้ย และอำเภอเมือง ตำบลบ้านเก่า ปัจจุบันสถานการณ์ยังคงมีน้ำท่วมขังในพื้นที่ลุ่มต่ำ ระดับน้ำลดลง
- พื้นที่ภาคตะวันออก
1) จังหวัดปราจีนบุรี เกิดฝนตกหนักต่อเนื่องทำให้น้ำในแม่น้ำปราจีนบุรีเอ่อล้นเข้าท่วมในพื้นที่ 7 อำเภอ 54 ตำบล ปัจจุบันยังคงมีน้ำท่วม 6 อำเภอ ได้แก่ อำเภอกบินทร์บุรี ศรีมหาโพธิ เมืองปราจีนบุรี บ้านสร้าง ศรีมโหสถ และอำเภอประจันตคาม อำเภอกบินทร์บุรี (ระดับวิกฤต 9.24 ม.) สูงกว่าวิกฤต 0.49 ม. ระดับน้ำลดลง อำเภอศรีมหาโพธิ (ระดับวิกฤต 9.00 ม.) ต่ำกว่าวิกฤต 0.12 ม. ระดับน้ำลดลง อำเภอเมืองปราจีนบุรี (ระดับวิกฤต 4.15 ม.) สูงกว่าวิกฤต 0.17 ม. ระดับน้ำลดลง อำเภอบ้านสร้าง (ระดับวิกฤต 3.00 ม.) สูงกว่าวิกฤต 0.56 ม. ระดับน้ำลดลง
2) จังหวัดฉะเชิงเทรา ได้เกิดฝนตกหนักและน้ำเอ่อล้นตลิ่งเข้าท่วมในพื้นที่ 9 อำเภอ 35 ตำบล 252 หมู่บ้าน ปัจจุบันยังคงมีน้ำท่วมขัง 8 อำเภอ 33 ตำบล 236 หมู่บ้าน ได้แก่ (อ.เมือง บางคล้า บางน้ำเปรี้ยว พนมสารคาม คลองเขื่อน บ้านโพธิ์ ราชสาส์น และสนามชัยเขต) สถานการณ์ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่สองฝั่งแม่น้ำบางปะกง และคลองท่าลาด แนวโน้มระดับน้ำลดลง
- ลุ่มน้ำยม
1) จังหวัดพิษณุโลก เกิดฝนตกหนักต่อเนื่องและน้ำป่าไหลหลากทำให้เกิดน้ำท่วมในพื้นที่ 8 อำเภอ 39 ตำบล ปัจจุบันสถานการณ์น้ำที่อำเภอบางระกำ (บ้านบางระกำ Y.16 ระดับตลิ่ง 7.00 ม.) สูงกว่าตลิ่ง 1.07 ม. ระดับน้ำลดลง อำเภอพรหมพิราม และ อำเภอเมืองพิษณุโลก ตำบลบ้านกร่าง ระดับน้ำต่ำกว่าตลิ่ง แนวโน้มลดลง
2) จังหวัดพิจิตร น้ำจากแม่น้ำยมที่ไหลมาจากจังหวัดสุโขทัยได้เอ่อล้นเข้าท่วมในพื้นที่ 8 อำเภอ 19 ตำบล ปัจจุบันสถานการณ์อำเภอสามง่าม ตำบลรังนก (หมู่ที่ 1-4,6-9,11,12) (บ้านสามง่าม Y.17 ระดับตลิ่ง 7.04 ม.) ต่ำกว่าตลิ่ง 1.79 ม. ระดับน้ำลดลง และอำเภอโพธิ์ประทับช้าง ตำบลดงเสือเหลือง (หมู่ที่ 8) ไผ่ท่าโพ (หมู่ที่ 1,9) และตำบลวังจิก (หมู่ที่ 1,3,7,8,10) แนวโน้มระดับน้ำลดลง
- ลุ่มน้ำเจ้าพระยา
1) จังหวัดอ่างทอง ได้เกิดน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยาและแม่น้ำน้อยกัดเซาะตลิ่งและเอ่อล้นเข้าท่วม ในพื้นที่ 5 อำเภอ 12 ตำบล ปัจจุบันยังคงมีน้ำท่วมขังในพื้นที่ลุ่มต่ำอำเภอป่าโมก ตำบลโผงเผง บางเสด็จ และ ทต.ป่าโมก (ตำบลปางปลากด) ระดับน้ำลดลง สถานการณ์คลี่คลายอยู่ระหว่างการฟื้นฟู
2) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได้เกิดน้ำเอ่อล้นตลิ่งไหลเข้าท่วมในพื้นที่ 6 อำเภอ 90 ตำบล ปัจจุบันยังคงมีน้ำท่วมขัง ระดับน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยาตั้งแต่ (อ.พระนครศรีอยุธยา บางปะอิน บางไทร) และ แม่น้ำน้อยตั้งแต่ (อ.ผักไห่ เสนา บางบาล) ระดับน้ำจะเพิ่มขึ้นประมาณ 0.01-0.10 ม. แม่น้ำลพบุรีตั้งแต่ (อ.บ้านแพรก มหาราช) และแม่น้ำป่าสัก ระดับน้ำลดลง
3) จังหวัดสมุทรปราการ เกิดฝนตกหนักในพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ กรุงเทพมหานคร และพื้นที่ต่อเนื่อง เป็นเหตุให้น้ำในคลองประเวศน์บุรีรมย์ คลองพระองค์เจ้าไชยานุชิต คลองลำปลาทิว คลองจระเข้ใหญ่ คลองจระเข้น้อย ล้นตลิ่งเข้าท่วมในพื้นที่ 2 อำเภอ 5 ตำบล ได้แก่ อำเภอบางบ่อ อำเภอบางเสาธง ปัจจุบันยังคงมีน้ำท่วมขัง 2 อำเภอ ระดับน้ำทรงตัว
- ลุ่มน้ำท่าจีน
1) จังหวัดสุพรรณบุรี ได้เกิดฝนตกหนักประกอบกับน้ำจากจังหวัดกาญจนบุรีไหลเข้าท่วมในพื้นที่ 7 อำเภอ 58 ตำบล มีผู้เสียชีวิต 3 ราย (อ.สองพี่น้อง) ได้แก่ อำเภอสองพี่น้อง อำเภออู่ทอง อำเภอเมืองสุพรรณบุรี อำเภอบางปลาม้า และอำเภอหนองหญ้าไซ (อำเภอสองพี่น้อง T.13 ระดับตลิ่ง 3.00 ม.) ต่ำกว่าตลิ่ง 0.07 ม. ปัจจุบันสถานการณ์น้ำสูงเฉลี่ยประมาณ 0.10-0.30 ม. แนวโน้มเพิ่มขึ้น
2) จังหวัดนครปฐม ได้เกิดฝนตกหนักต่อเนื่องทำให้เกิดน้ำท่วมขังที่ลุ่มต่ำริมแม่น้ำท่าจีนในพื้นที่ 7 อำเภอ 87 ตำบล ที่ อำเภอบางเลน (ระดับตลิ่ง 2.20 ม. สูงกว่าตลิ่ง 0.31 ม.) อ.นครชัยศรี (ระดับตลิ่ง 1.70 ม. สูงกว่าตลิ่ง 0.42 ม.) ปัจจุบันสถานการณ์น้ำสูงประมาณ 0.20-0.40 ม. โดยรวมระดับน้ำเพิ่มขึ้น
อ่านรายงานเพิ่มเติม
ข่าวจากหนังสือพิมพ์ จังหวัดกาญจนบุรีสำรวจพื้นที่หลัง "พายุแกมี" ผ่านพ้น พบพื้นที่ได้รับความเสียหายหลายตำบล ถนนถูกตัดขาด ที่ดินการเกษตรเสียหายกว่า 1 หมื่นไร่ นายชัยวัฒน์ ลิมป์วรรณธะ ผวจ.กาญจนบุรี ได้ลงพื้นที่ ต.หนองไผ่ ซึ่งได้รับผลกระทบมากที่สุด เพื่อตรวจสถานการณ์น้ำท่วมในครั้งนี้ พร้อมเปิดเผยว่า สถานการณ์น้ำในขณะนี้พบว่า พื้นที่ อ.ด่านมะขามเตี้ย ได้ถูกน้ำไหลบ่าเข้าท่วมในหลายหมู่บ้านในพื้นที่ 4 ตำบล และ ต.บ้านเก่า อ.เมือง ได้เกิดน้ำป่าได้ไหลหลากเข้าท่วมพื้นที่ 4 หมู่บ้าน ระดับน้ำสูงประมาณ 50–100 เซนติเมตร ราษฎรได้รับความเดือดร้อนกว่า 100 ครัวเรือน ทางจังหวัดจึงได้สั่งการให้ทางอำเภอเร่งอพยพราษฎรผู้ประสบภัยไปอยู่ในสถานที่ปลอดภัย เช่น ที่ทำการ อบต.–เทศบาล โรงเรียน และวัด ซึ่งได้จัดเตรียมสถานที่ไว้รองรับ พร้อมอาหาร 3 มื้อไว้เรียบร้อยแล้ว และบางส่วนที่ยังพออาศัยอยู่ในพื้นที่น้ำท่วมได้ ทางเจ้าหน้าที่ก็จะนำถุงยังชีพไปแจกจ่ายเพื่อบรรเทาความเดือดร้อนต่อไป น้ำท่วมสวนผึ้ง จ.ราชบุรี ยังน่าห่วง ปชช.เริ่มอพยพมาอยู่ในที่ที่ปลอดภัยแล้ว [ ThaiPBS : 9 ต.ค. 55 ]
|
ข้อมูลอ้างอิง |