บันทึกเหตุการณ์พายุไซโคลน "นาร์กีส" ( 27 เม.ย. - 6 พ.ค. 51)
แผนภาพเส้นทางพายุ | |
ดูรายละเอียดเพิ่มเติม |
พายุไซโคลน "นาร์กีส" ( NARGIS) เริ่มต้นจากการเป็นพายุโซนร้อนความเร็วใกล้ศูนย์กลาง ประมาณ 35 นอต หรือประมาณ 65 กิโลเมตร/ชั่วโมง เมื่อวันที่ 28 เมษายน พ.ศ.2551 จากมหาสมุทรอินเดีย และเปลี่ยนเป็นพายุไต้ฝุ่นความเร็วใกล้ศูนย์กลาง ประมาณ 90 นอต หรือประมาณ 167 กิโลเมตร/ชั่วโมง เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ.2551 และเคลื่อนเข้าสู่สหภาพพม่าแถบสามเหลี่ยมปากแม่น้ำอิระวดีรวมทั้งเมืองย่างกุ้ง ด้วยความเร็วใกล้ศูนย์กลาง ประมาณ 110 นอต หรือประมาณ 204 กิโลเมตร/ชั่วโมง ในวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ.2551 และ พายุลูกนี้ได้ลดความเร็วลงเป็นพายุโซนร้อนในวันที่ 3 พฤษภาคม และกลายเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำในวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ.2551 |
ภาพดาวเทียม GOES-9 | ||||
27/4/2008 : 11GMT |
28/4/2008 : 11GMT |
29/4/2008 : 12GMT |
30/4/2008 : 12GMT |
1/5/2008 : 12GMT |
2/5/2008 : 11GMT |
3/5/2008 : 14GMT |
4/5/2008 : 11GMT |
5/5/2008 : 11GMT |
6/5/2008 : 11GMT |
จากภาพถ่ายดาวเทียม GOES-9 จะเห็นได้ว่าตั้งแต่วันที่ 27 เม.ย. บริเวณฝั่งตะวันตกของไทยเริ่มมีกลุ่มเมฆค่อนข้างมาก อันเป็นผลมาจากพายุไซโคลน "นาร์กีส" ดูรายละเอียดเพิ่มเติม |
ภาพแผนที่อากาศ | ||||
27/4/2008 |
28/4/2008 |
29/4/2008 |
30/4/2008 |
1/5/2008 |
2/5/2008 |
3/5/2008 |
4/5/2008 |
5/5/2008 |
6/5/2008 |
จากภาพแผนที่อากาศ พบว่าพายุได้เริ่มก่อตัวในช่วงวันที่ 27-28 เม.ย. และได้ทวีกำลังเพิ่มขึ้น หลังจากนั้นได้เคลื่อนตัวเข้าสู่ประเทศพม่าในวันที่ 2 พ.ค. และสลายตัวกลายเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำในวันที่ 4 พ.ค. ดูรายละเอียดเพิ่มเติม |
ภาพเรดาร์กรมอุตุนิยมวิทยา (ระหว่างวันที่ 27 เม.ย. - 6 พ.ค.51) | |||||||||
เชียงใหม่ 27/4/2551 15:22GMT |
เชียงใหม่ 28/4/2551 04:28GMT |
เชียงใหม่ 29/4/2551 09:22GMT |
เชียงใหม่ 30/4/2551 11:22GMT |
เชียงใหม่ 1/5/2551 16:22GMT |
เชียงใหม่ 2/5/2551 15:22GMT |
เชียงใหม่ 3/5/2551 03:22GMT |
เชียงใหม่ 4/5/2551 10:22GMT |
เชียงใหม่ 5/5/2551 09:22GMT |
เชียงใหม่ 6/5/2551 09:22GMT |
พิษณุโลก 27/4/2551 09:25GMT |
พิษณุโลก 28/4/2551 11:25GMT |
พิษณุโลก 29/4/2551 12:25GMT |
พิษณุโลก 30/4/2551 11:25GMT |
พิษณุโลก 1/5/2551 01:25GMT |
พิษณุโลก 2/5/2551 16:25GMT |
พิษณุโลก 3/5/2551 04:25GMT |
พิษณุโลก 4/5/2551 11:25GMT |
พิษณุโลก 5/5/2551 09:25GMT |
พิษณุโลก 6/5/2551 13:25GMT |
สุวรรณภูมิ 27/4/2551 10:29GMT |
สุวรรณภูมิ 28/4/2551 14:29GMT |
สุวรรณภูมิ 29/4/2551 11:29GMT |
สุวรรณภูมิ 30/4/2551 235:29GMT |
สุวรรณภูมิ 1/5/2551 07:29GMT |
สุวรรณภูมิ 2/5/2551 22:29GMT |
สุวรรณภูมิ 3/5/2551 05:29GMT |
สุวรรณภูมิ 4/5/2551 02:29GMT |
สุวรรณภูมิ 5/5/2551 08:29GMT |
สุวรรณภูมิ 6/5/2551 23:29GMT |
ชุมพร 27/4/2551 09:382GMT |
ชุมพร 28/4/2551 05:38GMT |
ชุมพร 29/4/2551 11:38GMT |
ชุมพร 30/4/2551 11:38GMT |
ชุมพร 1/5/2551 19:38GMT |
ชุมพร 2/5/2551 01:38GMT |
ชุมพร 3/5/2551 10:38GMT |
ชุมพร 4/5/2551 07:38GMT |
ชุมพร 5/5/2551 05:38GMT |
ชุมพร 6/5/2551 08:38GMT |
ภูเก็ต 27/4/2551 23:30GMT |
ภูเก็ต 28/4/2551 02:30GMT |
ภูเก็ต 29/4/2551 11:30GMT |
ภูเก็ต 30/4/2551 09:30GMT |
ภูเก็ต 1/5/2551 09:30GMT |
ภูเก็ต 2/5/2551 02:30GMT |
ภูเก็ต 3/5/2551 10:30GMT |
ภูเก็ต 4/5/2551 23:30GMT |
ภูเก็ต 5/5/2551 05:30GMT |
ภูเก็ต 6/5/2551 09:302GMT |
ความสูงของพื้นผิวน้ำทะเล | ||||
22/4/2551 |
23/4/2551 |
24/4/2551 |
25/4/2551 |
26/4/2551 |
27/4/2551 |
28/4/2551 |
29/4/2551 |
1/5/2551 |
2/5/2551 |
จากแผนภาพแสดงความสูงของคลื่นจากภาพถ่ายดาวเทียม Jason-1 GFO and ENVISATพบว่าตั้งแต่วันที่ 22 เม.ย. ความสูงของคลื่นบริเวณฝั่งอันดามันค่อย ๆ เพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ จากระดับปกติ จนเกิน 15 ซ.ม. โดยตั้งแต่วันที่ 28 เม.ย..ความสูงเกินระดับปกติค่อนข้างมาก ได้ขยายบริเวณกว้างอย่างเห็นได้ชัด |
ปริมาณฝนสะสม | ||||
22/4/2551 : 12am |
23/4/2551 : 00am |
24/4/2551 : 00am |
25/4/2551 : 00am |
26/4/2551 : 00am |
27/4/2551 : 12am |
28/4/2551 : 12am |
29/4/2551 : 12am |
30/4/2551 : 12am |
1/5/2551 : 00am |
2/5/2551 : 00am |
3/5/2551 : 12am |
4/5/2551 : 00am |
5/5/2551 : 00am |
6/5/2551 : 00am |
จากแผนภาพแสดงปริมาณฝนสะสมจะพบว่าตั้งแต่วันที่ 22 เม.ย. เริ่มมีกลุ่มฝนเป็นจำนวนมากเคลื่อนตัวเคลื่อนตัวจากบริเวณประเทศอินโดนีเซีย และได้ก่อตัวเป็นพายุโซนร้อนในวันที่ 28 เม.ย. ในบริเวณมหาสมุทรอินเดียและได้เคลือนตัวเ้ัข้าสู่บริเวณอ่าวเบงกอลและขึ้นฝั่งที่ประเทศพม่า หลังจากนั้นได้สลายตัวกลายเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำในช่วงวันที่ 4 พ.ค. จากแผนภาพแสดงปริมาณฝนสะสมตั้งแต่วันที่ 27 เม.ย. - 6 พ.ค. จะพบว่าบริเวณมหาสมุทรอินเดียมีปริมาณฝนค่อนข้างมาก |
ปริมาณฝนจากสถานีตรวจวัดกรมอุตุนิยมวิทยา | ||||
29/4/2551 |
30/4/2551 |
1/5/2551 |
2/5/2551 |
|
3/5/2551 |
4/5/2551 |
5/5/2551 |
6/5/2551 |
|
ปริมาณฝนจากสถานีโทรมาตรขนาดเล็ก | ||||
สถานีที่ทำการ อ.พะโต๊ะ จ.ชุมพร |
โครงการอ่างเก็บน้ำหาดส้มแป้น จ.ระนอง |
|||
ข้อมูลจากสถานีโทรมาตรขนาดเล็ก พบว่าที่สถานีที่ทำการอ.พะโต๊ะ จ.ชุมพร มีปริมาณฝนสะสมรายวันสูงสุดในวันที่ 4 พ.ค. 51 โดยมีปริมาณฝน 137.00 มิลลิเมตร ส่วนสถานีโครงการอ่างเก็บน้ำหาดส้มแป้น จ.ระนอง มีปริมาณฝนสะสมรายวันสูงสุดในวันที่ 4 พ.ค. 51 โดยมีปริมาณฝน 98.20 มิลลิเมตร และจากการเกิดพายุในครั้งนี้ ระบบโทรมาตรได้ส่งข้อความเตือนภัยในบริเวณที่มีฝนตกหนักผ่านระบบ sms โดยมีรายละเอียดการเตือนภัยดังนี้ |
วันที่ |
เวลา |
ระดับการเตือนภัย |
สถานที่ |
ปริมาณฝน 1วัน (มม.) |
|
2008-05-05 |
08:00:00 |
เฝ้าระวังสูงสุด |
สถานีระนอง อ.ละอุ่น จ.ระนอง |
118.0 |
|
2008-05-04 |
14:00:00 |
เฝ้าระวังสูงสุด |
สถานีอบต.พะโต๊ะ อ.พะโต๊ะ จ.ชุมพร |
109.4 |
|
2008-05-03 |
07:00:00 |
เฝ้าระวังสูงสุด |
สถานีอบต.หาดส้มแป้น อ.เมือง จ.ระนอง |
98.2 |
|
2008-05-03 |
03:00:00 |
เฝ้าระวังสูงสุด |
สถานีอบต.พะโต๊ะ อ.พะูโต๊ะ จ.ชุมพร |
97.4 |
|
2008-05-01 |
08:00:00 |
วิกฤต |
สถานีแม่สอด จ.ตาก |
135.1 |