บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมบริเวณภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ( สิงหาคม 2556 )


ภาพเส้นทางพายุ โดย UNISYS Weather



รายละเอียดเพิ่มเติม : http://weather.unisys.com/hurricane/index.php

ในเดือนสิงหาคม 2556 มีพายุที่ก่อตัวในทะเลจีนใต้ และส่งผลกระทบต่อประเทศไทยทั้งหมด 2 ลูก ประกอบด้วย

1.พายุโซนร้อน "เชบี" (JEBI) ก่อตัวบริเวณทะเลจีนใต้เมื่อวันที่ 31 ก.ค. 56 และสลายตัวประมาณวันที่ 4 ก.ค. 56 บริเวณประเทศเวียดนามตอนบน กลายเป็นหย่อม
ความกดอากาศต่ำเคลื่อนตัวผ่านประเทศลาวตอนบนและประเทศไทยตอนบน พายุนี้ ส่งผลกระทบต่อประเทศไทยในช่วงวันที่ 2-5 ส.ค. 56 ทำให้มีฝนตกหนักถึงหนักมาก
ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บริเวณจังหวัดเลย หนองคาย บึงกาฬ อุดรธานี หนองบัวลำภู สกลนคร นครพนม และมุกดาหาร ส่วนภาคเหนือ บริเวณจังหวัดเชียงราย พะเยา
น่าน แพร่ อุตรดิตถ์ และเพชรบูรณ์

2.พายุโซนร้อน "มังคุด" (MANGKHUT) ก่อตัวบริเวณทะเลจีนใต้เมื่อวันที่ 5 ส.ค. 56 และสลายตัวประมาณวันที่ 8 ส.ค. 56 กลายเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำปกคลุม
ภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ส่งผลทำให้ช่วงวันที่ 8-9 สิงหาคม 2556 มีฝนตกหนักถึงหนักมากบางแห่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บริเวณจังหวัดเลย หนองบัวลำภู
อุดรธานี หนองคาย บึงกาฬ สกลนคร กาฬสินธุ์ นครพนม และมุกดาหาร ส่วนภาคเหนือ บริเวณจังหวัดเชียงราย ลำปาง พะเยา แพร่ น่าน อุตรดิตถ์ พิษณุโลก และเพชรบูรณ์

นอกจากนี้ยังมีพายุที่ก่อตัวในมหาสมุทรแปซิฟิก แต่ไม่ส่งผลกระทบโดยตรงต่อประเทศไทย ประกอบด้วย

1.พายุใต้ฝุ่น "อูตอร์" (UTOR) ก่อตัวบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกเมื่อวันที่ 8 ส.ค. 56 และสลายตัวประมาณวันที่ 15 ส.ค. 56 บริเวณเมืองหนานหนิง มณฑลกวางสีึ ประเทศจีน
"อูตอร์" (UTOR) เป็นพายุไต้ฝุ่นลูกแรกที่เกิดขึ้นในทะเลจีนใต้ของปี 2556 โดยมีความรุนแรงเทียบเคียงกับพายุไต้ฝุ่นเกย์ (GAY) ที่มีผลกระทบต่อภาคใต้ของประเทศไทยใน
อดีตที่ผ่านมา แต่พายุอูตอร์ไม่มีผลกระทบโดยตรงต่อประเทศไทย

2.พายุ "จ่ามี" (TRAMI) ก่อตัวบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิก ทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะลูซอน ประเทศฟิลิปปินส์ เมื่อวันที่ 17 ส.ค. 56 และสลายตัวประมาณ
วันที่ 22 ส.ค. 56 บริเวณมณฑลฟูเจี้ยน ประเทศจีน พายุนี้ไม่ส่งผลกระทบโดยตรงกับประเทศไทย

3.พายุ “กองเรย” (KONG-REY) ก่อตัวบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิก ทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศฟิลิปปินส์ เมื่อวันที่ 26 ส.ค. 56 และสลายตัวประมาณวันที่
31 ส.ค. 56 บริเวณตอนใต้ของประเทศญี่ปุ่น พายุนี้ไม่ส่งผลกระทบต่อประเทศไทย

ภาพถ่ายดาวเทียม MTSAT-2 โดย มหาวิทยาลัยโคชิ

6/8/2556[11GMT]

7/8/2556[10GMT]

8/8/2556[10GMT]

21/8/2556[10GMT]

22/8/2556[09GMT]

26/8/2556[10GMT]

27/8/2556[11GMT]

28/8/2556[11GMT]

29/8/2556[11GMT]

30/8/2556[11GMT]


ภาพถ่ายดาวเทียมแสดงการเคลื่อนตัวของกลุ่มเมฆช่วงเดือนสิงหาคม 2556



หมายเหตุ :
เวลาประเทศไทย = เวลา GMT + 7 ชั่วโมง
รายละเอียดเพิ่มเติม : http://www.thaiwater.net/TyphoonTracking/Goes9.php

จากภาพถ่ายดาวเทียม MTSAT พบว่าในเดือนสิงหาคม 2556 มีกลุ่มเมฆปกคลุมพื้นที่ประเทศไทยเกือบทุกวัน โดยเฉพาะช่วงที่มีพายุเข้าใกล้ประเทศไทย ช่วงที่ร่องความกดอากศต่ำพาดผ่าน
รวมทั้งมรสุมตะวันตกเฉียงใต้มีกำัลังแรง เช่น ช่วงวัีนที่ 2-5 ส.ค. 56 ซึ่งได้รับผลกระทบจากพายุ "เชบี" ช่วงวันที่ 7-9 ส.ค. 56 ที่ได้รับผลกระทบจากพายุ "มังคุด" ช่วง 21-22 ส.ค. และ 26-31 ส.ค. 56
ที่มีร่องความกดอากาศพาดผ่าน บริเวณประเทศไทย รวมทั้งมรสุมตะวันตกเฉียงใต้มีกำลังแรง



แผนที่อากาศ โดย กรมอุตุนิยมวิทยา


1/8/2556

2/8/2556

8/8/2556

9/8/2556

10/8/2556

11/8/2556

12/8/2556

14/8/2556

15/8/2556

18/8/2556

19/8/2556

20/8/2556

21/8/2556

22/8/2556

23/8/2556

26/8/2556

27/8/2556

29/8/2556

30/8/2556

31/8/2556

รายละเอียดเพิ่มเติม : http://www.thaiwater.net/TyphoonTracking/prewc1.php


วันที่ 1 สิงหาคม 2556 พายุโซนร้อน “เชบี” (JEBI) บริเวณทะเลจีนใต้ตอนกลาง มีศูนย์กลางอยู่ห่างประมาณ 580 กิโลเมตร ทางตะวันออกเฉียงใต้ ของเกาะไหหลำ ประเทศจีน มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลาง ประมาณ 65 กม./ชม. เคลื่อนที่ทางทิศตะวันตกค่อนทางเหนือเล็กน้อย ด้วยความเร็วประมาณ 10 กม./ชม. ต่อมาในวันที่ 2 สิงหาคม 2556 พายุนี้ได้เคลื่อนตัวเข้าใกล้เกาะไหหลำ โดยมีศูนย์กลางอยู่ห่างประมาณ 400 กิโลเมตร ทางตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะ มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลาง ประมาณ 75 กม./ชม. หลังจากนั้นเคลื่อนที่ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือเข้าสู่อ่าวตังเกี๋ยและขึ้นฝั่งบริเวณประเทศเวียดนามตอนบนในวันที่ 3 สิงหาคม 2556 ด้วยความเร็วประมาณ 10 กม./ชม. หลังจากนั้นได้อ่อนกำลังลง ก่อนเคลื่อนเข้าปกคลุมบริเวณประเทศลาวตอนบน และประเทศไทยตอนบน ส่งผลให้ในช่วงวันที่ 2-5 สิงหาคม 2556 มีฝนตกหนักถึงหนักมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บริเวณจังหวัดเลย หนองคาย บึงกาฬ อุดรธานี หนองบัวลำภู สกลนคร นครพนม และมุกดาหาร ส่วนภาคเหนือ บริเวณจังหวัดเชียงราย พะเยา น่าน แพร่ อุตรดิตถ์ และเพชรบูรณ์ ส่วนมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ประเทศไทย และอ่าวไทย มีกำลังค่อนข้างแรง ทำให้บริเวณด้านตะวันตกของภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต้ฝั่งตะวันตก ยังคงมีฝนตกหนักถึงหนักมากได้บางแห่ง โดยเฉพาะจังหวัดจันทบุรี ตราด ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง และสตูล

วันที่ 8 สิงหาคม 2556 พายุโซนร้อน “มังคุด” (MANGKHUT) บริเวณอ่าวตังเกี๋ย ได้เคลื่อนขึ้นฝั่งประเทศเวียดนามตอนบน และ มีศูนย์กลางอยู่ห่างประมาณ 280 กิโลเมตร ทางทิศเหนือค่อนตะวันตกเล็กน้อยของจังหวัดนครพนมมีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 75 กิโลเมตรต่อชั่วโมง กำลังเคลื่อนตัวทางทิศตะวันตกค่อนทางเหนือเล็กน้อย ด้วยความเร็วประมาณ 15 กิโลเมตรต่อชั่วโมง หลังจากนั้นได้อ่อนกำลังลงเป็นพายุดีเปรสชันและหย่อมความกดอากาศต่ำตามลำดับ ส่งผลทำให้ช่วงวันที่ 8-9 สิงหาคม 2556 มีฝนตกหนักถึงหนักมากบางแห่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บริเวณจังหวัดเลย หนองบัวลำภู อุดรธานี หนองคาย บึงกาฬ สกลนคร กาฬสินธุ์ นครพนม และมุกดาหาร ส่วนภาคเหนือ บริเวณจังหวัดเชียงราย ลำปาง พะเยา แพร่ น่าน อุตรดิตถ์ พิษณุโลก และเพชรบูรณ์ ส่วนมรสุมตะวันตกเฉียงใต้กำลังปานกลางพัดปกคลุมทะเลอันดามัน ประเทศไทย และอ่าวไทย ทำให้บริเวณภาคตะวันออก และภาคใต้ฝั่งตะวันตก ยังคงมีฝนตกหนักบางแห่ง โดยเฉพาะจังหวัดจันทบุรี ตราด ระนอง พังงา และภูเก็ต

วันที่ 14 สิงหาคม 2556 พายุไต้ฝุ่น “อูตอร์” (UTOR) บริเวณทะเลจีนใต้ตอนบน มีศูนย์กลางอยู่ห่างประมาณ 200 กิโลเมตรทางทิศตะวันออกของเกาะไหหลำ ประเทศจีน มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 150 กิโลเมตรต่อชั่วโมง พายุนี้ได้เคลื่อนตัวทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือด้วยความเร็วประมาณ 15 กิโลเมตรต่อชั่วโมง และขึ้นฝั่งบริเวณมณฑลกวางตุ้ง ประเทศจีนในคืนวันที่ 14 สิงหาคม 2556 จากนั้นได้อ่อนกำลังลงเป็นพายุโซนร้อน และพายุดีเปรสชันตามลำดับ สำหรับพายุ “อูตอร์” (UTOR) นี้เป็นพายุไต้ฝุ่นลูกแรกที่เกิดขึ้นในทะเลจีนใต้ของปี 2556 โดยมีความรุนแรงเทียบเคียงกับพายุไต้ฝุ่นเกย์ (GAY) ที่มีผลกระทบต่อภาคใต้ของประเทศไทยในอดีตที่ผ่านมา ส่วนมรสุมตะวันตกเฉียงใต้กำลังค่อนข้างแรงพัดปกคลุมทะเลอันดามัน ประเทศไทย และอ่าวไทย ส่งผลให้ภาคใต้ฝั่งตะวันตกและชายฝั่งภาคตะวันออกมีฝนหนาแน่นและมีฝนตกหนักบางแห่ง โดยเฉพาะบริเวณจังหวัดระยอง จันทบุรี ตราด ระนอง และพังงา

วันที่ 22 สิงหาคม 2556 ร่องมรสุมพาดผ่านภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน เข้าสู่หย่อมความกดอากาศต่ำบริเวณอ่าวตังเกี๋ย ทำให้ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีฝนเพิ่มขึ้นและมีฝนตกหนักบางแห่ง สำหรับมรสุมตะวันตกเฉียงใต้กำลังแรงพัดปกคลุมทะเลอันดามัน ประเทศไทย และอ่าวไทย ส่งผลให้ภาคกลาง ภาคใต้ และภาคตะวันออกมีฝนเพิ่มขึ้น ด้านพายุโซนร้อน “จ่ามี” (TRAMI) ได้เคลื่อนขึ้นฝั่งบริเวณมณฑลฟูเจี้ยน ประเทศจีน ในวันที่ 22 สิงหาคม 2556 และอ่อนกำลังลงเป็นพายุดีเปรสชั่น ในวันที่ 23 สิงหาคม 2556 พายุนี้ไม่มีผลกระทบต่อประเทศไทย

วันที่ 29 สิงหาคม 2556 มรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ประเทศไทย และอ่าวไทย อย่างต่อเนื่องหลายวัน ประกอบกับมีหย่อมความกดอากาศต่ำอยู่บริเวณชายฝั่งประเทศเวียดนามตอนบน ทำให้ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน และภาคตะวันออกมีฝนตกหนักบางแห่ง ต่อมาในช่วงวันที่ 30 ส.ค. - 1 ก.ย. 56 มีร่องมรสุมจะพาดผ่านภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ทำให้บริเวณดังกล่าวมีฝนเพิ่มมากขึ้น และมีฝนตกหนักบางแห่ง ด้าน พายุโซนร้อน “กองเรย” (KONG-REY) ใกล้เกาะไต้หวัน เป็นพายุที่เคลื่อนตัวไปยังประเทศญี่ปุ่น และไม่มีผลกระทบต่อประเทศไทย


สภาวะอากาศ
โดย กรมอุตุนิยมวิทยา

เดือนกันยายนประเทศไทยมีปริมาณและการกระจายของฝนส่วนใหญ่อยู่ในช่วงต้นเดือนและปลายเดือน จากอิทธิพลของมรสุมตะวันตกเฉียงใต้กาลังค่อนข้างแรงพัดปกคลุมทะเลอันดามัน ประเทศไทย และอ่าวไทยในช่วงดังกล่าว ประกอบกับในช่วงต้นเดือนพายุโซนร้อน “เชบี” (JEBI) บริเวณทะเลจีนใต้ตอนกลางได้เคลื่อนเข้ามาสลายตัวบริเวณประเทศลาวและพม่าในช่วงวันที่ 3-4 และพายุโซนร้อน “มังคุด” (MANGKHUT) บริเวณทะเลจีนใต้ตอนล่างได้เคลื่อนขึ้นฝั่งประเทศเวียดนามตอนบนและเคลื่อนเข้ามาสลายตัวบริเวณประเทศลาวใกล้กับภาคเหนือตอนบนในวันที่ 8 กับมีร่องมรสุมพาดผ่านบริเวณภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนเป็นระยะๆ ทำให้ประเทศไทยมีฝนตกหนาแน่นในช่วงดังกล่าวและมีรายงานน้าท่วมฉับพลันบางพื้นที่ สาหรับในช่วงกลางเดือนมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมประเทศไทยได้อ่อนกาลังลงและร่องมรสุมมีกาลังอ่อนไม่ปรากฏชัดทาให้พื้นที่ส่วนใหญ่มีฝนลดลง โดยปริมาณฝนรวมเดือนนี้ต่ากว่าค่าปกติในเกือบทุกภาคมีเพียงภาคเหนือที่สูงกว่าค่าปกติ ส่วนปริมาณฝนรวมเฉลี่ยทั้งประเทศต่ากว่าค่าปกติ 7 เปอร์เซนต์ สาหรับรายละเอียดต่างๆ มีดังนี้

วันที่ 1-10 สิงหาคม
: มรสุมตะวันตกเฉียงใต้กาลังค่อนข้างแรงพัดปกคลุมทะเลอันดามัน ประเทศไทย และอ่าวไทยเกือบตลอดช่วง ประกอบกับพายุโซนร้อน “เชบี” (JEBI) บริเวณทะเลจีนใต้ตอนกลางได้เคลื่อนขึ้นฝั่ง ประเทศเวียดนามตอนบนในวันที่ 3 แล้วอ่อนกาลังลงเป็นพายุดีเปรสชันก่อนเคลื่อนผ่านประเทศลาวและอ่อนกาลังลงเป็นหย่อมความกดอากาศต่ากาลังแรงปกคลุมประเทศพม่าในวันที่ 4 นอกจากนี้พายุโซนร้อน “มังคุด” (MANGKHUT) บริเวณทะเลจีนใต้ตอนล่างได้เคลื่อนขึ้นฝั่งประเทศเวียดนามตอนบนเมื่อวันที่ 8 ซึ่งต่อมาพายุลูกนี้ได้เคลื่อนเข้าสู่ประเทศลาวพร้อมทั้งอ่อนกาลังลงเป็นพายุดีเปรสชันและเป็นหย่อมความกดอากาศต่ากาลังแรงปกคลุมประเทศไทยบริเวณภาคเหนือตอนบน ลักษณะดังกล่าวทาให้ในช่วงนี้ประเทศไทยตอนบนมีฝนตกหนาแน่นเกือบตลอดช่วง โดยเฉพาะในช่วงวันที่ 7-10 มีฝนทั่วไปกับฝนหนักถึงหนักมากหลายพื้นที่ในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือกับมีรายงานน้าท่วมฉับพลันและน้าป่าไหลหลากบริเวณจังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ และลาปาง เมื่อวันที่ 9 และจังหวัดบึงกาฬ เมื่อวันที่ 7 โดยปริมาณฝนมากที่สุดบริเวณประเทศไทยตอนบน 174.3 มิลลิเมตร ที่อาเภอเมือง จังหวัดบึงกาฬ เมื่อวันที่ 7 สาหรับภาคใต้มีฝนตกหนาแน่นโดยเฉพาะทางฝั่งตะวันตกของภาคมีฝนทั่วไปเกือบตลอดช่วง โดยมีฝนหนักหลายพื้นที่กับหนักมากบางพื้นที่ในระยะต้นช่วง ส่งผลให้เกิดน้าท่วมบริเวณจังหวัดสุราษฎร์ธานี พังงา และสตูลเมื่อวันที่ 2 จังหวัดระนอง เมื่อวันที่ 3 และมีรายงานน้าป่าไหลหลากบริเวณจังหวัดตรังเมื่อวันที่ 2 โดยปริมาณฝนมากที่สุดวัดได้ 149.9 มิลลิเมตร ที่ท่าอากาศยานตรัง อาเภอเมือง จังหวัดตรัง เมื่อวันที่ 1

วันที่ 11-20 สิงหาคม : ในช่วงนี้ปริมาณฝนของประเทศไทยส่วนใหญ่อยู่ในระยะต้นช่วง เนื่องจากร่องมรสุมพาดผ่านภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือเข้าสู่หย่อมความกดอากาศต่าบริเวณทะเลจีนใต้ตอนกลาง ประกอบกับมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ประเทศไทย และอ่าวไทยมีกาลังค่อนข้างแรงในช่วงดังกล่าว โดยปริมาณฝนมากที่สุดบริเวณประเทศไทยตอนบนวัดได้ 150.8 มิลลิเมตร ที่โรงเรียนวัดทรัพย์สโมสร เขตหนองจอก จังหวัดกรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 12 กับมีรายงานน้าท่วมฉับพลันและน้าป่าไหลหลากบริเวณจังหวัดพิจิตรและกาแพงเพชรเมื่อวันที่ 13 น้าป่าไหลหลากบริเวณจังหวัดนครสวรรค์ เมื่อวันที่ 12 และน้าล้นตลิ่งบริเวณจังหวัดอุตรดิตถ์ เมื่อวันที่ 11 และมีรายงานลมกระโชกแรงบริเวณจังหวัดจันทบุรี เมื่อวันที่ 14 จากนั้นมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมเริ่มมีกาลังอ่อนลงในระยะกลางช่วงและร่องมรสุมได้เลื่อนขึ้นไปพาดผ่านตอนบนของภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือในตอนปลายช่วง ทาให้พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณฝนลดลง สาหรับภาคใต้มีฝนกระจายถึงเกือบทั่วไป
กับมีฝนหนักบางพื้นที่ในระยะต้นช่วง หลังจากนั้นฝนลดลงทั่วไป ปริมาณฝนมากที่สุดวัดได้ 83.4 มิลลิเมตร ที่อาเภอเมืองจังหวัดระนอง เมื่อวันที่ 12

วันที่ 21-31 สิงหาคม : ร่องมรสุมพาดผ่านภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนเกือบตลอดช่วง โดยพาดเข้าสู่หย่อมความกดอากาศต่าบริเวณอ่าวตังเกี๋ยในระยะต้นช่วงและพาดเข้าสู่หย่อมความกดอากาศต่าบริเวณทะเลจีน ใต้ตอนกลางในระยะกลางช่วง ประกอบกับมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ประเทศไทย และอ่าวไทยมีกำลังค่อนข้างแรงในตอนปลายช่วง ลักษณะดังกล่าวทาให้บริเวณประเทศไทยตอนบนมีฝนเพิ่มขึ้น โดยมีฝนกระจายถึงเกือบทั่วไปกับฝนหนักถึงหนักมากบางพื้นที่เกือบตลอดช่วง ปริมาณฝนมากที่สุด 125.0 มิลลิเมตร ที่อาเภอบ้านแพง จังหวัดนครพนม เมื่อวันที่ 21 และมีรายงานน้าท่วมฉับพลันและน้าป่าไหลหลากบริเวณจังหวัดเชียงราย เมื่อวันที่ 22 กับมีน้าท่วมบริเวณจังหวัดหนองคาย เมื่อวันที่ 22 จังหวัดพิษณุโลก เมื่อวันที่ 23 และจังหวัดเพชรบูรณ์ เมื่อวันที่ 25 นอกจากนี้ยังมีรายงานน้าป่าไหลหลากบริเวณจังหวัดสุรินทร์ในวันที่ 27 สาหรับภาคใต้มีฝนเป็นแห่งๆ ถึงกระจายกับฝนหนักบางพื้นที่ในระยะครึ่งแรกของช่วง ส่วนในระยะครึ่งหลังมีฝนเพิ่มขึ้นโดยมีฝนเกือบทั่วไปกับฝนหนักถึงหนักมากบางพื้นที่ ปริมาณฝนมาก
ที่สุด 119.0 มิลลิเมตร ที่อาเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส เมื่อวันที่ 28 เดือนนี้ทั่วทุกภาคมีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงกว่าค่าปกติเล็กน้อย อุณหภูมิสูงที่สุดวัดได้ 38.3 องศาเซลเซียส ที่อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ เมื่อวันที่ 29 สาหรับอุณหภูมิต่าที่สุด 19.8 องศาเซลเซียส ที่อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เมื่อวันที่ 19

ปริมาณฝนเดือนนี้ต่ากว่าค่าปกติในเกือบทุกภาคดังนี้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 52.6 มิลลิเมตร (20%) ภาคกลาง 31.8 มิลลิเมตร (18%) ภาคตะวันออก 2.7 มิลลิเมตร (1%) ภาคใต้ฝั่งตะวันออก 18.7 มิลลิเมตร (15%) และภาคใต้ฝั่งตะวันตก 47.5 มิลลิเมตร (12%) มีเพียงภาคเหนือที่ปริมาณฝนสูงกว่าค่าปกติ 24.5 มิลลิเมตร (11%)

รายละเอียดเพิ่มเติม


แผนที่ความกดอากาศและความเร็วลมที่ระดับความสูง 1.5 ก.ม. เหนือระดับน้ำทะเล โดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน)

รายละเอียดเพิ่มเติม : http://live1.hii.or.th/wrf_image/weather_map.php


ภาพเรดาร์ตรวจอากาศ โดย กรมอุตุนิยมวิทยา

เรดาร์เชียงราย รัศมี 240 กิโลเมตร

6/8/2556 [22:27GMT]

7/8/2556 [01:27GMT]

8/8/2556 [17:27GMT]

21/8/2556 [11:27GMT]

22/8/2556 [01:27GMT]

DBZ

24/8/2556 [20:27GMT]

25/8/2556 [01:27GMT]

26/8/2556 [16:27GMT]

30/8/2556 [10:27GMT]

31/8/2556 [02:27GMT]

เรดาร์พิษณุโลก รัศมี 240 กิโลเมตร

1/8/2556 [10:25GMT]

2/8/2556 [10:25GMT]

3/8/2556 [11:25GMT]

7/8/2556 [11:25GMT]

8/8/2556 [11:25GMT]

DBZ

9/8/2556 [17:25GMT]

10/8/2556 [17:25GMT]

11/8/2556 [16:25GMT]

22/8/2556 [15:25GMT]

31/8/2556 [11:25GMT]

เรดาร์ขอนแก่น รัศมี 240 กิโลเมตร

1/8/2556 [20:30GMT]

6/8/2556 [22:30GMT]

7/8/2556 [19:30GMT]

8/8/2556 [19:30GMT]

21/8/2556 [21:30GMT]

DBZ

22/8/2556 [03:30GMT]

26/8/2556 [21:30GMT]

27/8/2556 [02:30GMT]

29/8/2556 [14:30GMT]

30/8/2556 [16:30GMT]


เรดาร์อุบลราชธานี รัศมี 240 กิโลเมตร

6/8/2556 [16:40GMT]

8/8/2556 [21:40GMT]

19/8/2556 [20:40GMT]

23/8/2556 [17:40GMT]

24/8/2556 [13:40GMT]

DBZ

25/8/2556 [17:40GMT]

26/8/2556 [02:40GMT]

27/8/2556 [03:40GMT]

28/8/2556 [08:40GMT]

29/8/2556 [11:40GMT]
หมายเหตุ : เวลาประเทศไทย = เวลา GMT + 7 ชั่วโมง
ดูรายละเอียดเพิ่มเติม :
เรดาร์เชียงราย : http://www.thaiwater.net/DATA/REPORT/php/radar/show_criradar.php
เรดาร์พิษณุโลก : http://www.thaiwater.net/DATA/REPORT/php/radar/show_phkradar.php
เรดาร์ขอนแก่น : http://www.thaiwater.net/DATA/REPORT/php/radar/show_kkn_radar.php
เรดาร์อุบลราชธานี :
http://www.thaiwater.net/DATA/REPORT/php/radar/show_ubolradar.php


จากเครือข่ายภาพเรดาร์ตรวจอากาศของกรมอุตุนิยมวิทยา เรดาร์เชียงราย เรดาร์พิษณุโลก เรดาร์ขอนแก่น และเรดาร์อุบลราชธานี รัศมี 240 ก.ม. พบว่ามีฝนตกหนักในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน โดยเฉพาะจังหวัดเชียงราย พะเยา
แพร่ น่าน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน บริเวณจังหวัดหนองคาย อุดรธานี สกลนคร บึงกาฬ เลย นครพนม หนองบัวลำภู ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง บริเวณจังหวัดอุบลราชธานี สุรินทร์ ศรีสะเกษ ยโสธร โดยมีฝนตกหนัก
ช่วงต้นเดือนประมาณวันที่ 6-8 ส.ค. 21-24 ส.ค. และช่วงปลายเดือนประมาณวันที่ 25 ส.ค. 56 จนถึงสิ้นเดือน


แผนภาพแสดงปริมาณฝนสะสมรายวัน สังเคราะห์จากข้อมูลปริมาณฝนรายชั่วโมงของ GSMaP
จัดทำโดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร


6/8/2556

7/8/2556

8/8/2556

21/8/2556


22/8/2556

26/8/2556

27/8/2556

28/8/2556

29/8/2556

30/8/2556



จากแผนภาพแสดงปริมาณฝนสะสมรายวัน ของ GSMaP ในเดือนสิงหาคม พบว่ามีกลุ่มฝนกระจุกตัวบริเวณประเทศไทยเกือบทุกวัน โดยเฉพาะพื้นที่ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก
แต่กลุ่มฝนมีการกระจุกตัวอย่างต่อเนื่องหลายวัน ในบริเวณภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก ช่วงวันที่ 6-8 , 21-22 , 26-30 ส.ค. 56


แผนภาพแสดงปริมาณฝนสะสมรายวัน โดย สถาบันวิจัยทหารเรืออเมริกา


7/8/2556 : 0000Z

8/8/2556 : 0000Z

9/8/2556 : 0000Z

21/8/2556 : 0000Z

22/8/2556 : 0000Z

27/8/2556 : 0000Z

28/8/2556 : 0000Z

29/8/2556 : 0000Z

30/8/2556 : 0000Z

31/8/2556 : 0000Z
mm.


แผนภาพแสดงการเคลื่อนตัวของกลุ่มฝนช่วงเดือนสิงหาคม 2556



รายละเอียดเพิ่มเติม : http://www.thaiwater.net/DATA/REPORT/php/show_ssta.php

จากแผนภาพแสดงปริมาณฝนสะสมของศูนย์วิจัยทหาเรืออเมริกา พบว่ามีกลุ่มฝนกระจุกตัวกันเป็นบริเวณกว้างในพื้นที่ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ช่วงวันที่ 7-9 , 21-22 , 27-31 ส.ค. 56
แต่วันที่ 28-29 จะมีการกระจุกตัวกันเป็นหย่อมเล็ก ๆ นอกจากนี้พื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออกก็มีกลุ่มฝนกระจุกตัวเป็นหย่อมเล็ก ๆ เช่นเดียวกัน

แผนภาพแสดงปริมาณฝนสะสมรายวัน โดย NASA


6/8/2556[00Z]

7/8/2556[00Z]

8/8/2556[00Z]

21/8/2556[00Z]

22/8/2556[00Z]

26/8/2556[00Z]

27/8/2556[00Z]

28/8/2556[00Z]

29/8/2556[00Z]

30/8/2556[00Z]
mm.




รายละเอียดเพิ่มเติม : http://disc2.nascom.nasa.gov/Giovanni/tovas/realtime.3B42RT.2.shtml

จากแผนภาพแสดงปริมาณฝนสะสมรายวันของ NASA พบว่ามีกลุ่มฝนกระจุกตัวกันมากเป็นหย่อม ๆ บริเวณภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รวมทั้งภาคตะวันออก
ในช่วงวันที่ 6-8 , 21-22 และ 26-30 ส.ค. 56

ปริมาณฝนสะสมรายวันจากสถานีตรวจอากาศ โดย กรมอุตุนิยมวิทยา

         รายงานข้อมูลปริมาณฝนสะสมรายวันจากสถานีตรวจอากาศกรมอุตุนิยมวิทยาช่วงเดือนสิงหาคม 2556
บริเวณภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก พบว่าสถานีที่มีฝนตกเกิน 50 มิลลิเมตรต่อวัน
แสดงดังตารางด้านล่าง
และสถานีที่ตรวจวัดปริมาณฝน ได้เกิน 100 มิลลิเมตรต่อวัน อยู่ในพื้นที่จังหวัดเชียงรายและจังหวัดตราด

วันที่
สถานี
ตำบล
อำเภอ
จังหวัด
 ปริมาณฝนสะสมรายวัน(มม.) 
1/8/2013 มุกดาหาร บ้านค้อ คำชะอี มุกดาหาร                                 55.0
2/8/2013 ปราจีนบุรี คำโตนด ประจันตคาม ปราจีนบุรี
                        80.7
กำแพงเพชร ท่าไม้ พรานกระต่าย กำแพงเพชร                                 53.3
4/8/2013 สอท.ท่าตูม* ท่าตูม ท่าตูม สุรินทร์                                 56.1
7/8/2013 คลองใหญ่ ไม้รูด คลองใหญ่ ตราด                                 89.0
อรัญประเทศ บ้านใหม่หนองไทร อรัญประเทศ สระแก้ว                                 75.8
กบินทร์บุรี (2) คู้ลำพัน ศรีมโหสถ ปราจีนบุรี                                 68.2
แพร่ บ้านหนุน สอง แพร่                                 64.6
8/8/2013 เชียงราย แม่ข้าวต้ม เมืองเชียงราย เชียงราย                              147.1
ท่าวังผา (2) แสนทอง ท่าวังผา น่าน                                 68.7
แม่ฮ่องสอน ห้วยผา เมืองแม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน                                 56.2
ฉะเชิงเทรา (1) หนองแหน พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา                                 54.0
9/8/2013 โกสุมพิสัย หนองบอน โกสุมพิสัย มหาสารคาม                                 69.3
สกลนคร (1) นาใน พรรณานิคม สกลนคร                                 61.0
สุโขทัย ราวต้นจันทร์ ศรีสำโรง สุโขทัย                                 57.3
10/8/2013 สุโขทัย ราวต้นจันทร์ ศรีสำโรง สุโขทัย                                 99.4
ศรีสำโรง ป่ากุมเกาะ สวรรคโลก สุโขทัย                                 91.5
เลย นาแขม เมืองเลย เลย                                 84.8
เลย (1) หนองบัว ภูเรือ เลย                                 84.8
พิษณุโลก หนองกะท้าว นครไทย พิษณุโลก                                 67.8
สกลนคร ศรีวิชัย วานรนิวาส สกลนคร                                 65.0
สกลนคร (1) นาใน พรรณานิคม สกลนคร                                 65.0
อุตรดิตถ์ ขุนฝาง เมืองอุตรดิตถ์ อุตรดิตถ์                                 64.5
แพร่ บ้านหนุน สอง แพร่                                 54.4
11/8/2013 หนองพลับ (1) นาพันสาม เมืองเพชรบุรี เพชรบุรี                                 55.8
ดอยมูเซอ (1) แม่กาษา แม่สอด ตาก                                 52.3
12/8/2013 บุรีรัมย์ เสม็ด เมืองบุรีรัมย์ บุรีรัมย์                                 63.0
13/8/2013 คลองใหญ่ ไม้รูด คลองใหญ่ ตราด                                140.6
แหลมฉบัง ทุ่งสุขลา ศรีราชา ชลบุรี                                 52.4
20/8/2013 นครพนม (1) กุตาไก้ ปลาปาก นครพนม                                 94.0
21/8/2013 แม่สอด แม่ท้อ เมืองตาก ตาก                                 62.5
แม่ฮ่องสอน ห้วยผา เมืองแม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน                                 51.8
24/8/2013 ปราจีนบุรี คำโตนด ประจันตคาม ปราจีนบุรี                                 58.6
27/8/2013 ร้อยเอ็ด ท่าม่วง เสลภูมิ ร้อยเอ็ด                                 90.3
ชลบุรี หนองซ้ำซาก บ้านบึง ชลบุรี                                 57.5
29/8/2013 คลองใหญ่ ไม้รูด คลองใหญ่ ตราด                                116.4
ขอนแก่น เขาน้อย ภูเวียง ขอนแก่น                                 70.4
จันทบุรี ตะเคียนทอง กิ่ง อ. เขาคิชฌกู จันทบุรี                                 67.0
ร้อยเอ็ด (1) ราชธานี ธวัชบุรี ร้อยเอ็ด                                 65.6
30/8/2013 นครราชสีมา พลสงคราม โนนสูง นครราชสีมา                                 73.7
ร้อยเอ็ด (1) ราชธานี ธวัชบุรี ร้อยเอ็ด                                 72.5
แพร่ บ้านหนุน สอง แพร่                                 69.3
โกสุมพิสัย หนองบอน โกสุมพิสัย มหาสารคาม                                 66.2
ร้อยเอ็ด ท่าม่วง เสลภูมิ ร้อยเอ็ด                                 62.6
เลย นาแขม เมืองเลย เลย                                 54.4
หมายเหตุ : รายงานเฉพาะปริมาณฝนสะสมรายวันที่ตรวจวัดได้เกิน 50 มิลลิเมตร
สีแดง หมายถึง ข้อมูลปริมาณฝนสะสมรายวัน ที่เกิน 100 มิลลิเมตร
สีส้ม หมายถึง ข้อมูลปริมาณฝนสะสมรายวัน ระหว่าง 80-99 มิลลิเมตร


ปริมาณฝนสะสมรายวันตรวจวัดจากสถานีโทรมาตรโดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหารชน)

            รายงานข้อมูลปริมาณฝนสะสมรายวันตรวจวัดจากสถานีโทรมาตร ช่วงเดือนสิงหาคม 2556 บริเวณภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
พบว่าสถานีที่มีฝนตกเกิน 50 มิลลิเมตรต่อวัน แสดงดังตารางด้านล่าง และสถานีที่ตรวจวัดปริมาณน้ำฝนได้เกิน 100 มิลลิเมตรต่อวัน อยู่ในพื้นที่
จังหวัดหนองคาย เชียงราย น่าน อุตรดิตถ์ แพร่ และร้อยเอ็ด
วันที่
สถานี
ตำบล
อำเภอ
จังหวัด
ปริมาณฝนสะสมรายวัน(มม.)
2013-08-01 บ้านบัว สว่าง พรรณานิคม สกลนคร
59.8

คำชะอี น้ำเที่ยง คำชะอี มุกดาหาร
55.4
2013-08-02 หน่วยศึกษาการพัฒนาการอนุรักษ์ต้นน้ำน้ำพี้ บ้านพี้ บ้านหลวง น่าน
65.8

เสริมงาม ทุ่งงาม เสริมงาม ลำปาง
53.2

หน่วยศึกษาการพัฒนาการอนุรักษ์ต้นน้ำขุนแหง ปงเตา งาว ลำปาง
52.6

เหล่ากอหก เหล่ากอหก นาแห้ว เลย
51.2

ตรอน บ้านแก่ง ตรอน อุตรดิตถ์
50.8
2013-08-03 อมก๋อย อมก๋อย อมก๋อย เชียงใหม่
63.2

ดอยเวา เวียงพางคำ แม่สาย เชียงราย
58.6
2013-08-04 หน่วยศึกษาการพัฒนาการอนุรักษ์ต้นน้ำน้ำสิน บ้านแก่ง ศรีสัชนาลัย สุโขทัย
71.8
2013-08-05 ลำนางรอง ลำนางรอง โนนดินแดง บุรีรัมย์
52.0
2013-08-06 เมืองที ราม เมืองสุรินทร์ สุรินทร์
93.6

บ้านเพีย ท่าสะอาด นาด้วง เลย
65.4

บ้านแก้ง แก้ง เดชอุดม อุบลราชธานี
57.2

ชุมชนบ้านเพ็กเฟื้อย-ห้วยเตย หนองหว้า เมืองหนองบัวลำภู หนองบัวลำภู
56.0

เต่างอย นาตาล เต่างอย สกลนคร
51.4
2013-08-07 โพนพิสัย จุมพล โพนพิสัย หนองคาย
116.4

สะพานแม่แคม สวนเขื่อน เมืองแพร่ แพร่
63.6

สังคม สังคม สังคม หนองคาย
61.6

สะพานน้ำแม่สิน นาพูน วังชิ้น แพร่
58.0

หนองม่วงไข่ หนองม่วงไข่ หนองม่วงไข่ แพร่
57.4

หลวงใต้ หลวงใต้ งาว ลำปาง
56.8

หน่วยศึกษาการพัฒนาการอนุรักษ์ต้นน้ำแม่หล่าย สวนเขื่อน เมืองแพร่ แพร่
56.8

นครไทย นครไทย นครไทย พิษณุโลก
52.8
2013-08-08 เวียงชัย เวียงชัย เวียงชัย เชียงราย
158.2

บ่อเกลือ บ่อเกลือใต้ บ่อเกลือ น่าน
115.2

เชียงของ เวียง เชียงของ เชียงราย
85.6

ชุมชนบ้านม่วงชุม ครึ่ง เชียงของ เชียงราย
79.4

ขุนยวม ขุนยวม ขุนยวม แม่ฮ่องสอน
77.8

ฝาง เวียง ฝาง เชียงใหม่
77.2

เชียงม่วน เชียงม่วน เชียงม่วน พะเยา
75.4

ฝายมูล ป่าคา ท่าวังผา น่าน
73.0

หน่วยศึกษาการพัฒนาการอนุรักษ์ต้นน้ำน้ำพี้ บ้านพี้ บ้านหลวง น่าน
61.4

เวียงป่าเป้า เวียง เวียงป่าเป้า เชียงราย
59.6

เต่างอย นาตาล เต่างอย สกลนคร
58.4

ลานกีฬาบ้านเมืองนะ เมืองนะ เชียงดาว เชียงใหม่
56.0

พญาเม็งราย แม่เปา พญาเม็งราย เชียงราย
55.2

สังคม สังคม สังคม หนองคาย
54.8

น่าน ในเวียง เมืองน่าน น่าน
53.2

บ้านทุ่งแล้ง ทุ่งแล้ง ลอง แพร่
53.2

เหมืองแม่เมาะ แม่เมาะ แม่เมาะ ลำปาง
52.8

เชียงแสน เวียง เชียงแสน เชียงราย
51.6

แม่จัน แม่จัน แม่จัน เชียงราย
51.2
2013-08-09 ดอยเวา เวียงพางคำ แม่สาย เชียงราย
69.6

ฝาง เวียง ฝาง เชียงใหม่
68.0

แม่จัน แม่จัน แม่จัน เชียงราย
64.8

ขาณุวรลักษณ์บุรี ป่าพุทรา ขาณุวรลักษบุรี กำแพงเพชร
58.4

บ้านทุ่งแล้ง ทุ่งแล้ง ลอง แพร่
51.4

ฝ่ายส่งน้ำฯที่ 4 ชลประทานเชียงใหม่ บ้านแม่สาว แม่สาว แม่อาย เชียงใหม่
50.0
2013-08-10 ทุ่งหัวช้าง ทุ่งหัวช้าง ทุ่งหัวช้าง ลำพูน
94.4

ชุมชนโป่งแดง โป่งแดง เมืองตาก ตาก
84.0

กงไกรลาศ บ้านกร่าง กงไกรลาศ สุโขทัย
82.0

บ้านผือ บ้านผือ บ้านผือ อุดรธานี
80.2

ทุ่งเสลี่ยม ทุ่งเสลี่ยม ทุ่งเสลี่ยม สุโขทัย
78.6

ศรีสำโรง วัดเกาะ ศรีสำโรง สุโขทัย
75.8

สวรรคโลก เมืองสวรรคโลก สวรรคโลก สุโขทัย
68.6

สะพานน้ำแม่สิน นาพูน วังชิ้น แพร่
66.4

หน่วยศึกษาการพัฒนาการอนุรักษ์ต้นน้ำน้ำเงิน ผาช้างน้อย ปง พะเยา
65.4

บ้านทรายขาว ทรายขาว วังสะพุง เลย
64.0

ลับแล ศรีพนมมาศ ลับแล อุตรดิตถ์
63.8

หลวงใต้ หลวงใต้ งาว ลำปาง
61.4

ชุมชนแม่หาด บ้านหลวง จอมทอง เชียงใหม่
61.0

วังชิ้น วังชิ้น วังชิ้น แพร่
58.6

บ้านบัว สว่าง พรรณานิคม สกลนคร
57.2

วังทอง วังทอง วังทอง พิษณุโลก
56.8

วังทรายพูน วังทรายพูน วังทรายพูน พิจิตร
55.6

สะพานน้ำแม่ต้า ต้าผามอก ลอง แพร่
55.4

หนองนาง หนองนาง ท่าบ่อ หนองคาย
52.0

เต่างอย นาตาล เต่างอย สกลนคร
50.4

หน่วยศึกษาการพัฒนาการอนุรักษ์ต้นน้ำน้ำพี้ บ้านพี้ บ้านหลวง น่าน
50.2
2013-08-11 คลองลาน สักงาม คลองลาน กำแพงเพชร
80.6

วังทรายพูน วังทรายพูน วังทรายพูน พิจิตร
74.0

บ้านพุ่มแก ธาตุพนม ธาตุพนม นครพนม
52.2
2013-08-14 นาซ่าว นาซ่าว เชียงคาน เลย
55.2
2013-08-18 ท่าสองยาง แม่ต้าน ท่าสองยาง ตาก
54.0
2013-08-20 หน่วยศึกษาการพัฒนาการอนุรักษ์ต้นน้ำแม่ปุง บ้านปิน ดอกคำใต้ พะเยา
61.4

ท่าสองยาง แม่ต้าน ท่าสองยาง ตาก
59.0
2013-08-21 เชียงของ เวียง เชียงของ เชียงราย
108.0

พญาเม็งราย แม่เปา พญาเม็งราย เชียงราย
90.0

หนองนาง หนองนาง ท่าบ่อ หนองคาย
89.6

หนองแอก บ้านโพธิ์ โพนพิสัย หนองคาย
88.4

หน่วยศึกษาการพัฒนาการอนุรักษ์ต้นน้ำดอยผาจิ ควร ปง พะเยา
69.6

หน่วยศึกษาการพัฒนาการอนุรักษ์ต้นน้ำน้ำพี้ บ้านพี้ บ้านหลวง น่าน
67.0

ช่อแฮ ป่าแดง เมืองแพร่ แพร่
62.4

ท่าสองยาง แม่ต้าน ท่าสองยาง ตาก
59.4

สันกำแพง สันกำแพง สันกำแพง เชียงใหม่
58.8

บ้านทรายทอง หนองกวั่ง บ้านม่วง สกลนคร
57.0

หน่วยศึกษาการพัฒนาการอนุรักษ์ต้นน้ำแม่หล่าย สวนเขื่อน เมืองแพร่ แพร่
56.6

บ้านดุงเหนือ บ้านเหล่า เพ็ญ อุดรธานี
54.8

สังคม สังคม สังคม หนองคาย
54.6

เวียงชัย เวียงชัย เวียงชัย เชียงราย
54.4

น้ำปาด แสนตอ น้ำปาด อุตรดิตถ์
52.0

บ้านขี้เหล็ก ขี้เหล็ก แม่ริม เชียงใหม่
51.4

หน่วยศึกษาการพัฒนาการอนุรักษ์ต้นน้ำแม่ถาง น้ำเลา ร้องกวาง แพร่
50.0
2013-08-22 ลับแล ศรีพนมมาศ ลับแล อุตรดิตถ์
133.2

คุ้งตระเพา คุ้งตะเภา เมืองอุตรดิตถ์ อุตรดิตถ์
77.0

บ้านทรายทอง หนองกวั่ง บ้านม่วง สกลนคร
69.4

เวียงชัย เวียงชัย เวียงชัย เชียงราย
68.4

ห้วยส้านยาว ดงมะดะ แม่ลาว เชียงราย
51.8
2013-08-23 หน่วยศึกษาการพัฒนาการอนุรักษ์ต้นน้ำห้วยโล่ง นาแก งาว ลำปาง
57.4
2013-08-25 แม่จัน แม่จัน แม่จัน เชียงราย
63.8
2013-08-26 หนองทัพไทย หนองทัพไทย พนมไพร ร้อยเอ็ด
108.6

ธาตุ ธาตุ รัตนบุรี สุรินทร์
60.6

ชุมชนหนองใหญ่ หนองใหญ่ ปราสาท สุรินทร์
56.2
2013-08-27 หน่วยศึกษาการพัฒนาการอนุรักษ์ต้นน้ำห้วยท่าแพ บ้านแก่ง ศรีสัชนาลัย สุโขทัย
55.8
2013-08-29 บ้านทุ่ม บ้านทุ่ม เมืองขอนแก่น ขอนแก่น
74.0

ธาตุ ธาตุ รัตนบุรี สุรินทร์
57.6

หนองผือ หนองผือ เขมราฐ อุบลราชธานี
56.0

นาสวง นาส่วง เดชอุดม อุบลราชธานี
53.4
2013-08-30 เมืองสอง บ้านกลาง สอง แพร่
124.2

สะพานแม่คำมี ไผ่โทน ร้องกวาง แพร่
100.2

บ้านเพีย ท่าสะอาด นาด้วง เลย
91.2

หน่วยศึกษาการพัฒนาการอนุรักษ์ต้นน้ำแม่หล่าย สวนเขื่อน เมืองแพร่ แพร่
82.2

บ้านซึม สัมฤทธิ์ พิมาย นครราชสีมา
80.4

ร้องกวาง ทุ่งศรี ร้องกวาง แพร่
76.4

เมืองเด่นชัย เด่นชัย เด่นชัย แพร่
75.4

หนองม่วงไข่ หนองม่วงไข่ หนองม่วงไข่ แพร่
65.6

บ้านหนองจิก โบสถ์ พิมาย นครราชสีมา
62.8

ช่อแฮ ป่าแดง เมืองแพร่ แพร่
58.4

บ้านผือ บ้านผือ บ้านผือ อุดรธานี
56.4

หนองนาง หนองนาง ท่าบ่อ หนองคาย
56.2

หน่วยศึกษาการพัฒนาการอนุรักษ์ต้นน้ำแม่ถาง น้ำเลา ร้องกวาง แพร่
55.6

อบต.บ่อ บ่อ เมืองน่าน น่าน
54.8

เทพสถิต โคกเพชรพัฒนา บำเหน็จณรงค์ ชัยภูมิ
51.0

หน่วยศึกษาการพัฒนาการอนุรักษ์ต้นน้ำแม่สอง เตาปูน สอง แพร่
50.4

สะพานแม่แคม สวนเขื่อน เมืองแพร่ แพร่
50.2
2013-08-31 วังชิ้น วังชิ้น วังชิ้น แพร่
53.0
หมายเหตุ : รายงานเฉพาะปริมาณฝนสะสมรายวันที่ตรวจวัดได้เกิน 50 มิลลิเมตร
สีแดง หมายถึง ข้อมูลปริมาณฝนสะสมรายวันที่เกิน 100 มิลลิเมตร
สีส้ม หมายถึง ข้อมูลปริมาณฝนสะสมรายวัน ระหว่าง 80-99 มิลลิเมตร

รายละเอียดเพิ่มเติม : http://www.thaiwater.net/Interpolated/ShowImg.php



รายงานการเตือนภัยปริมาณฝนผ่าน sms โดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร

จากตารางด้านล่างจะเห็นได้ว่าช่วงที่เกิดฝนตกหนักในเดือนสิงหาคม 2556 มีการเตือนภัยปริมาณฝนในระดับเฝ้าระวังสูงสุดและระดับวิกฤต

วันที่เตือนภัย
เวลาเตือนภัย
ช่วงเวลาฝนสะสม
ตำบล
อำเภอ
จังหวัด
ปริมาณฝนสะสม(มม.) 
ระดับการเตือนภัย
1/8/2013 20:00:00 ฝน19-20น. ต.นาหนองทุ่ม อ.แก้งคร้อ ชัยภูมิ
41.0
เฝ้าระวังสูงสุด
15:00:00 ฝน14-15น. ต.น้ำเที่ยง อ.คำชะอี มุกดาหาร
50.0
วิกฤต
15:00:00 ฝน13-14น. ต.น้ำเที่ยง อ.คำชะอี มุกดาหาร
43.4
เฝ้าระวังสูงสุด
2:00:00 ฝน01/07-02/02น. ต.เหล่าทอง อ.โซ่พิสัย บึงกาฬ
92.4
เฝ้าระวังสูงสุด
2/8/2013 21:00:00 ฝน19-20น. ต.บ้านแก่ง อ.ตรอน อุตรดิตถ์
41.2
วิกฤต
20:00:00 ฝน19-20น. ต.วังท่าช้าง อ.กบินทร์บุรี ปราจีนบุรี
41.2
วิกฤต
20:00:00 ฝน19-20น. ต.บ้านแก่ง อ.ตรอน อุตรดิตถ์
38.8
เฝ้าระวังสูงสุด
3/8/2013 8:00:00 JEBI Tropical Storm is 238 km. toward Thailand
เฝ้าระวังสูงสุด
5/8/2013 13:00:00 ฝน11-12น. ต.บ่อ อ.เมืองน่าน น่าน
26.2
เฝ้าระวังสูงสุด
6/8/2013 23:00:00 ฝน22-23น. ต.นาตาล อ.เต่างอย สกลนคร
44.4
เฝ้าระวังสูงสุด
23:00:00 ฝน22-23น. ต.นาตาล อ.เต่างอย สกลนคร
50.4
วิกฤต
7:00:00 ฝน06-07น. ต.กลางเวียง อ.เวียงสา น่าน
27.0
เฝ้าระวังสูงสุด
6:00:00 ฝน05-06น. ต.เปือ อ.เชียงกลาง น่าน
29.6
เฝ้าระวังสูงสุด
3:00:00 ฝน06/07-07/02น. ต.ราม อ.เมืองสุรินทร์ สุรินทร์
91.2
เฝ้าระวังสูงสุด
1:00:00 ฝน23-00น. ต.ราม อ.เมืองสุรินทร์ สุรินทร์
43.4
เฝ้าระวังสูงสุด
7/8/2013 13:00:00 ฝน12-13น. ต.ช้างคลาน อ.เมืองเชียงใหม่ เชียงใหม่
42.2
วิกฤต
11:00:00 ฝน09-10น. ต.หนองม่วงไข่ อ.หนองม่วงไข่ แพร่
38.0
วิกฤต
10:00:00 ฝน09-10น. ต.บ้านกลาง อ.สอง แพร่
36.6
วิกฤต
9:00:00 MANGKHUT Tropical Storm is 292 km. toward Thailand
เฝ้าระวังสูงสุด
8:00:00 ฝน06-07น. ต.กลางเวียง อ.เวียงสา น่าน
28.6
เฝ้าระวังสูงสุด
3:00:00 ฝน07/07-08/03น. ต.จุมพล อ.โพนพิสัย หนองคาย
110.6
วิกฤต
2:00:00 ฝน07/07-08/02น. ต.จุมพล อ.โพนพิสัย หนองคาย
94.4
เฝ้าระวังสูงสุด
1:00:00 ฝน23-00น. ต.ป่าแฝก อ.พรเจริญ บึงกาฬ
43.0
เฝ้าระวังสูงสุด
8/8/2013 23:00:00 ฝน22-23น. ต.เชียงม่วน อ.เชียงม่วน พะเยา
31.2
เฝ้าระวังสูงสุด
22:00:00 ฝน07-22น. ต.เหล่าทอง อ.โซ่พิสัย บึงกาฬ
91.2
เฝ้าระวังสูงสุด
20:00:00 ฝน19-20น. ต.ในเวียง อ.เมืองน่าน น่าน
35.2
วิกฤต
16:00:00 ฝน15-16น. ต.ในเมือง อ.เมืองกำแพงเพชร กำแพงเพชร
35.2
วิกฤต
7:00:00 ฝนวานนี้ ต.เวียง อ.เชียงของ เชียงราย
85.6
เฝ้าระวังสูงสุด
6:00:00 ฝน08/07-09/06น. ต.เวียงชัย อ.เวียงชัย เชียงราย
86.4
เฝ้าระวังสูงสุด
6:00:00 ฝน05-06น. ต.เวียงชัย อ.เวียงชัย เชียงราย
43.6
วิกฤต
6:00:00 ฝน08/07-09/06น. ต.เวียงชัย อ.เวียงชัย เชียงราย
129.8
วิกฤต
4:00:00 ฝน08/07-09/04น. ต.ป่าคา อ.ท่าวังผา น่าน
67.4
เฝ้าระวังสูงสุด
3:00:00 ฝน08/07-09/03น. ต.เหล่าทอง อ.โซ่พิสัย บึงกาฬ
114.2
วิกฤต
1:00:00 ฝน08/07-09/00น. ต.บ่อเกลือใต้ อ.บ่อเกลือ น่าน
75.6
เฝ้าระวังสูงสุด
1:00:00 ฝน08/07-09/01น. ต.บ่อเกลือใต้ อ.บ่อเกลือ น่าน
83.6
วิกฤต
9/8/2013 20:00:00 ฝน19-20น. ต.ป่าพุทรา อ.ขาณุวรลักษบุรี กำแพงเพชร
44.0
วิกฤต
9:00:00 ฝนวานนี้ สถานีท่าวังผา 2 ท่าวังผา จ.น่าน
68.7
เฝ้าระวังสูงสุด
9:00:00 ฝนวานนี้ สถานีเชียงราย อ.เมืองเชียงราย จ.เชียงราย
147.1
วิกฤต
10/8/2013 22:00:00 ฝน20-21น. ต.เมืองสวรรคโลก อ.สวรรคโลก สุโขทัย
30.4
เฝ้าระวังสูงสุด
21:00:00 ฝน20-21น. ต.ธานี อ.เมืองสุโขทัย สุโขทัย
30.8
เฝ้าระวังสูงสุด
21:00:00 ฝน20-21น. ต.วัดเกาะ อ.ศรีสำโรง สุโขทัย
36.4
วิกฤต
21:00:00 ฝน20-21น. ต.บ้านกร่าง อ.กงไกรลาศ สุโขทัย
39.0
วิกฤต
21:00:00 ฝน20-21น. ต.บ้านกร่าง อ.กงไกรลาศ สุโขทัย
34.8
เฝ้าระวังสูงสุด
20:00:00 ฝน18-19น. ต.ทุ่งทราย อ.ทรายทองวัฒนา กำแพงเพชร
30.2
เฝ้าระวังสูงสุด
17:00:00 ฝน16-17น. ต.ทุ่งหัวช้าง อ.ทุ่งหัวช้าง ลำพูน
43.0
วิกฤต
15:00:00 ฝน13-14น. ต.ทรายขาว อ.วังสะพุง เลย
46.0
วิกฤต
7:00:00 ฝน05-06น. ต.สว่าง อ.พรรณานิคม สกลนคร
45.0
เฝ้าระวังสูงสุด
7:00:00 ฝน06-07น. ต.สว่าง อ.พรรณานิคม สกลนคร
46.8
วิกฤต
6:00:00 ฝน10/07-11/05น. ต.ทุ่งหัวช้าง อ.ทุ่งหัวช้าง ลำพูน
87.6
เฝ้าระวังสูงสุด
3:00:00 ฝน02-03น. ต.วังชิ้น อ.วังชิ้น แพร่
33.6
เฝ้าระวังสูงสุด
11/8/2013 15:00:00 ฝน13-14น. ต.ทุ่งขวาง อ.พนัสนิคม ชลบุรี
43.6
วิกฤต
9:00:00 ฝนวานนี้ สถานีศรีสำโรง อ.ศรีสำโรง จ.สุโขทัย
91.5
เฝ้าระวังสูงสุด
9:00:00 ฝนวานนี้ สถานีสุโขทัย อ.เมืองสุโขทัย จ.สุโขทัย
99.4
เฝ้าระวังสูงสุด
12/8/2013 16:00:00 ฝน14-15น. ต.ตะกาง อ.เมืองตราด ตราด
42.6
วิกฤต
5:00:00 ฝน12/07-13/05น. ต.เกาะช้างใต้ อ.กิ่งอำเภอเกาะช้าง ตราด
158.6
วิกฤต
5:00:00 ฝน12/07-13/04น. ต.เกาะช้างใต้ อ.กิ่งอำเภอเกาะช้าง ตราด
104.4
เฝ้าระวังสูงสุด
5:00:00 ฝน03-04น. ต.เกาะช้างใต้ อ.กิ่งอำเภอเกาะช้าง ตราด
44.4
วิกฤต
1:00:00 ฝน23-00น. ต.ราม อ.เมืองสุรินทร์ สุรินทร์
40.4
เฝ้าระวังสูงสุด
13/8/2013 7:00:00 ฝน05-06น. ต.แหลมกลัด อ.เมืองตราด ตราด
35.4
เฝ้าระวังสูงสุด
7:00:00 ฝน13/07-14/06น. ต.ห้วงน้ำขาว อ.เมืองตราด ตราด
150.4
วิกฤต
6:00:00 ฝน13/07-14/06น. ต.แหลมกลัด อ.เมืองตราด ตราด
95.8
เฝ้าระวังสูงสุด
5:00:00 ฝน04-05น. ต.ห้วงน้ำขาว อ.เมืองตราด ตราด
37.0
เฝ้าระวังสูงสุด
4:00:00 ฝน13/07-14/04น. ต.ห้วงน้ำขาว อ.เมืองตราด ตราด
104.2
เฝ้าระวังสูงสุด
4:00:00 ฝน13/07-14/03น. ต.คลองใหญ่ อ.แหลมงอบ ตราด
95.6
เฝ้าระวังสูงสุด
14/8/2013 21:00:00 ฝน20-21น. ต.เมืองแหง อ.เวียงแหง เชียงใหม่
36.8
เฝ้าระวังสูงสุด
20/8/2013 16:00:00 ฝน15-16น. ต.หนองแดง อ.แม่จริม น่าน
27.0
เฝ้าระวังสูงสุด
21/8/2013 9:00:00 ฝนวานนี้ สถานีนครพนม อ.เมืองนครพนม จ.นครพนม
94.0
เฝ้าระวังสูงสุด
7:00:00 ฝน06-07น. ต.เวียงชัย อ.เวียงชัย เชียงราย
44.4
วิกฤต
7:00:00 ฝน21/07-22/06น. ต.แม่เปา อ.พญาเม็งราย เชียงราย
87.8
เฝ้าระวังสูงสุด
2:00:00 ฝน21/07-22/02น. ต.เวียง อ.เชียงของ เชียงราย
93.6
เฝ้าระวังสูงสุด
1:00:00 ฝน21/07-22/01น. ต.บึงโขงหลง อ.บึงโขงหลง บึงกาฬ
123.2
วิกฤต
1:00:00 ฝน21/07-22/00น. ต.บึงโขงหลง อ.บึงโขงหลง บึงกาฬ
97.4
เฝ้าระวังสูงสุด
22/8/2013 8:00:00 ฝน06-07น. ต.เวียงชัย อ.เวียงชัย เชียงราย
54.4
วิกฤต
2:00:00 ฝน22/07-23/02น. ต.ศรีพนมมาศ อ.ลับแล อุตรดิตถ์
124.0
วิกฤต
2:00:00 ฝน22/07-23/02น. ต.คุ้งตะเภา อ.เมืองอุตรดิตถ์ อุตรดิตถ์
70.6
เฝ้าระวังสูงสุด
1:00:00 ฝน22/07-23/00น. ต.ศรีพนมมาศ อ.ลับแล อุตรดิตถ์
105.2
เฝ้าระวังสูงสุด
1:00:00 ฝน23-00น. ต.ศรีพนมมาศ อ.ลับแล อุตรดิตถ์
53.8
วิกฤต
23/8/2013 19:00:00 ฝน18-19น. ต.เปือ อ.เชียงกลาง น่าน
27.2
เฝ้าระวังสูงสุด
17:00:00 ฝน16-17น. ต.นาไร่หลวง อ.สองแคว น่าน
26.2
เฝ้าระวังสูงสุด
17:00:00 ฝน16-17น. ต.เหล่าทอง อ.โซ่พิสัย บึงกาฬ
53.8
วิกฤต
17:00:00 ฝน16-17น. ต.สาริกา อ.เมืองนครนายก นครนายก
42.4
วิกฤต
26/8/2013 6:00:00 ฝน26/07-27/06น. ต.หนองทัพไทย อ.พนมไพร ร้อยเอ็ด
104.2
เฝ้าระวังสูงสุด
5:00:00 ฝน04-05น. ต.เหล่าทอง อ.โซ่พิสัย บึงกาฬ
53.4
วิกฤต
5:00:00 ฝน04-05น. ต.หนองทัพไทย อ.พนมไพร ร้อยเอ็ด
42.2
เฝ้าระวังสูงสุด
28/8/2013 17:00:00 ฝนวานนี้ สถานีร้อยเอ็ด อ.เมืองร้อยเอ็ด จ.ร้อยเอ็ด
90.3
เฝ้าระวังสูงสุด
14:00:00 ฝน13-14น. ต.ทุ่งศรี อ.ร้องกวาง แพร่
30.4
เฝ้าระวังสูงสุด
29/8/2013 16:00:00 ฝน15-16น. ต.ศรีษะเกษ อ.นาน้อย น่าน
29.8
เฝ้าระวังสูงสุด
16:00:00 ฝน15-16น. ต.ศรีษะเกษ อ.นาน้อย น่าน
31.2
วิกฤต
15:00:00 ฝน14-15น. ต.วังทอง อ.นาวัง หนองบัวลำภู
40.6
เฝ้าระวังสูงสุด
15:00:00 ฝน14-15น. ต.ธาตุ อ.รัตนบุรี สุรินทร์
45.6
วิกฤต
14:00:00 ฝน13-14น. ต.หนองผือ อ.เขมราฐ อุบลราชธานี
46.4
วิกฤต
8:00:00 ฝน06-07น. ต.ห้วงน้ำขาว อ.เมืองตราด ตราด
42.2
วิกฤต
4:00:00 ฝน29/07-30/04น. ต.ห้วงน้ำขาว อ.เมืองตราด ตราด
96.0
เฝ้าระวังสูงสุด
30/8/2013 22:00:00 ฝน20-21น. ต.บ่อ อ.เมืองน่าน น่าน
31.8
วิกฤต
21:00:00 ฝน20-21น. ต.บ่อ อ.เมืองน่าน น่าน
27.6
เฝ้าระวังสูงสุด
18:00:00 ฝน17-18น. ต.บ้านกลาง อ.สอง แพร่
31.2
เฝ้าระวังสูงสุด
18:00:00 ฝน17-18น. ต.บ้านกลาง อ.สอง แพร่
38.0
วิกฤต
17:00:00 ฝน16-17น. ต.เด่นชัย อ.เด่นชัย แพร่
36.4
วิกฤต
16:00:00 ฝน15-16น. ต.เด่นชัย อ.เด่นชัย แพร่
31.2
เฝ้าระวังสูงสุด
9:00:00 ฝนวานนี้ สถานีคลองใหญ่ อ.คลองใหญ่ จ.ตราด
116.4
เฝ้าระวังสูงสุด
5:00:00 ฝน30/07-31/05น. ต.ท่าสะอาด อ.นาด้วง เลย
90.2
เฝ้าระวังสูงสุด
5:00:00 ฝน30/07-31/05น. ต.บ้านกลาง อ.สอง แพร่
115.0
วิกฤต
3:00:00 ฝน02-03น. ต.ทุ่งศรี อ.ร้องกวาง แพร่
33.0
เฝ้าระวังสูงสุด
3:00:00 ฝน30/07-31/03น. ต.บ้านกลาง อ.สอง แพร่
85.4
เฝ้าระวังสูงสุด


แผนภาพคาดการณ์ปริมาณฝนรายวันล่วงหน้า 7 วัน ความละเอียด 3x3 กิโลเมตร และ 9x9 กิโลเมตร
จากแบบจำลองสภาพอากาศ(WRF Model)


คาดการณ์เมื่อวันที่ 6 ส.ค. 56


6/8/56 19.00 น. - 7/8/56 19.00 น.

7/8/56 19.00 น. - 8/8/56 19.00 น.

8/8/56 19.00 น. - 9/8/56 19.00 น.

9/8/56 19.00 น. - 10/8/56 19.00 น.

10/8/56 19.00 น. - 11/8/56 19.00 น.

11/8/56 19.00 น. - 12/8/56 19.00 น.

12/8/56 19.00 น. - 13/8/56 19.00 น.


คาดการณ์เมื่อวันที่ 20 ส.ค. 56

20/8/56 19.00 น. - 21/8/56 19.00 น.

21/8/56 19.00 น. - 22/8/56 19.00 น.

22/8/56 19.00 น. - 23/8/56 19.00 น.

23/8/56 19.00 น. - 24/8/56 19.00 น.

24/8/56 19.00 น. - 25/8/56 19.00 น.

25/8/56 19.00 น. - 26/8/56 19.00 น.

26/8/56 19.00 น. - 27/8/56 19.00 น.



     จากแผนภาพคาดการณ์ปริมาณฝนสะสมรายวันล่วงหน้า 7 วัน ความละเอียด 3x3 กิโลเมตร และ 9x9 กิโลเมตร จากแบบจำลองสภาพอากาศ WRF
ผลการคาดการณ์เมื่อวันที่ 6 ส.ค. 56 พบว่าช่วงสามวันแรกมีฝนตกหนักในพื้นที่ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บริเวณจังหวัดเชียงราย พะเยา น่าน แพร่
อุตรดิตถ์ พิษณุโลก พิจิตร ลำพูน ลำปาง หนองคาย อุดรธานี เลย สกลนคร เลย อุบลราชธานี เป็นต้น หลังจากนั้นยังคงมีฝนตกในบางพื้นที่แต่โดยภาพรวมปริมาณฝนลดลง
ส่วนผลการคาดการณ์เมื่อวันที่ 20 ส.ค. 56 พบว่าช่วงสามวันแรกมีฝนตกหนักบริเวณภาคเหนือตอนบน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน และภาคตะวันออก
    โดยผลลัพธ์ที่ได้จากแบบจำลองมีความสอดคล้องใกล้เคียงกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง เมื่อเปรียบเทียบกับภาพเรดาร์ตรวจอากาศของกรมอุตุนิยมวิทยา
แผนภาพแสดงฝนสะสมของศูนย์วิจัยทหารเรืออเมริกา แผนภาพแสดงปริมาณฝนสะสมของ NASA และการตรวจวัดปริมาณฝนจากสถานีโทรมาตร  


สถานการณ์น้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่โดย กรมชลประทาน,การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

ปริมาณน้ำไหลลงเขื่อนภูมิพล

ปริมาณน้ำไหลลงเขื่อนสิริกิติ์

ปริมาณน้ำไหลลงเขื่อนลำปาว

ปริมาณน้ำไหลลงเขื่อนน้ำอูน


ปริมาณน้ำไหลลงอ่างเก็บน้ำสะสมรายเดือน ปี 2556 พื้นที่ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

                                                                                                                      หน่วย : ล้าน ลบ.ม.
เขื่อน/เดือน
พฤษภาคม
มิถุนายน
กรกฎาคม
สิงหาคม
ภาคเหนือ
ภูมิพล                  7           47         136         790
สิริกิติ์              135         155         496       1,456
แม่งัด                  3           10           15           53
กิ่วลม                16           16           36           56
แม่กวง                  3             4           13           36
กิ่วคอหมา                  0             3             2           37
แควน้อย                56         141         133         288
รวมภาคเหนือ              220         375         831       2,716
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ลำปาว                22           51         127         301
ลำตะคอง                  6           15           13           25
ลำพระเพลิง                  4           16             7             9
น้ำอูน                36           52         134           88
อุบลรัตน์                43           59         242         241
สิรินธร                69           79         333         462
จุฬาภรณ์                  3             3             9           11
ห้วยหลวง                  2           14           19           25
ลำนางรอง                  1             3             6           11
มูลบน                  1             3             8           12
น้ำพุง                  7             7           30           21
ลำแซะ                  5           10           26           37
รวมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ              200         312         952       1,242

จากเหตุการณ์ฝนตกหนักในช่วงเดือนสิงหาคม 2556 ทำให้มีปริมาณน้ำไหลลงอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่เพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะอ่างฯ ในพื้นที่ภาคเหนือ ปริมาณน้ำเพิ่มขึ้นทุกอ่างฯ
ส่วนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อ่างฯ ที่มีปริมาณน้ำไหลเข้าเพิ่มขึ้นค่อนข้างมาก ได้แก่ อ่างฯ ลำปาว และสิรินธร ส่วนอ่างฯ อื่น ๆ ปริมาณน้ำไหลเข้าเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าเพียงเล็กน้อย
และบางอ่างฯ ปริมาณน้ำไหลเข้าลดลง ได้แก่ อ่างฯ น้ำอูน อุบลรัตน์ และน้ำพุง

รายละเอียดเพิ่มเติม : http://www.thaiwater.net/DATA/REPORT/php/rid_bigcm.html

ระดับน้ำจากระบบโทรมาตร โดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน)

สถานี KON003-สุวรรณคูหา
ต. นาสี อ. สุวรรณคูหา จ. หนองบัวลำภู


สถานี SKM001-อากาศอำนวย
ต. โพนงาม อ. อากาศอำนวย จ. สกลนคร


สถานี SKM003-บ้านม่วง
ต. ห้วยหลัว อ. บ้านม่วง จ. สกลนคร

สถานี SKM005-สว่างแดนดิน
ต. โพนสูง อ. สว่างแดนดิน จ. สกลนคร

สถานี MUN016-ป่าติ้ว
ต. เชียงเพ็ง อ. ป่าติ้ว จ. ยโสธร

สถานี NAN005-แม่น้ำเข็ก (ว้งทอง)
ต. วังนกแอ่น อ. วังทอง จ. พิษณุโลก

สถานี PAS001-หล่มสัก
ต. หล่มสัก อ. หล่มสัก จ. เพชรบูรณ์

สถานี PAS004- วิเชียรบุรี
ต. ท่าโรง อ. วิเชียรบุรี จ. เพชรบูรณ์

สถานี SKE001-คลองพระปรง
ต. ศาลาลำดวน อ. เมืองสระแก้ว จ. สระแก้ว

รายงานการตรวจวัดระดับน้ำจากสถานีโทรมาตร พบว่าจากเหตุการณ์ฝนตกหนักช่วงเดือนสิงหาคม 2556
ทำให้ระดับน้ำล้นตลิ่งในหลายพื้นที่ของลุ่มน้ำโขง สงคราม มูล น่าน ป่าสัก และปราจีนบุรี
โดยส่วนใหญ่ระดับน้ำได้ล้นตลิ่งในระยะเวลาสั้น ๆ สถานการณ์เข้าสู่สภาวะปกติโดยเร็ว
1.สถานี KON003-สุวรรณคูหา ต. นาสี อ. สุวรรณคูหา จ. หนองบัวลำภู ระดับน้ำล้นตลิ่งสูงสุด 198.89 ม.รทก. วันที่ 12 ส.ค. 56
2.สถานี SKM001-อากาศอำนวย ต. โพนงาม อ. อากาศอำนวย จ. สกลนคร น้ำล้นตลิ่งต่อเนื่องตั้งแต่ปลายเดือน ก.ค. 56 ระดับน้ำล้นตลิ่งสูงสุดที่วัดได้ 137.68 ม.รทก. วันที่ 16 ส.ค. 56
3.สถานี SKM003-บ้านม่วง ต. ห้วยหลัว อ. บ้านม่วง จ. สกลนคร น้ำล้นตลิ่งต่อเนื่องตั้งแต่ปลายเดือน ก.ค. 56 ระดับน้ำล้นตลิ่งสูงสุดที่วัดได้ 155.23 วันที่ 5 ส.ค. 56
4.สถานี SKM005-สว่างแดนดิน ต. โพนสูง อ. สว่างแดนดิน จ. สกลนคร น้ำล้นตลิ่งต่อเนื่องตั้งแต่ปลายเดือน ก.ค. 56 ระดับน้ำล้นตลิ่งสูงสุดที่วัดได้ 156.95 ม.รทก. วันที่ 4 ส.ค. 56
5.สถานี MUN016-ป่าติ้ว ต. เชียงเพ็ง อ. ป่าติ้ว จ. ยโสธร น้ำล้นตลิ่งต่อเนื่องตั้งแต่ปลายเดดือน ก.ค. 56 ระดับน้ำล้นตลิ่งสูงสุดที่วัดได้ 103.23 ม.รทก. วันที่ 1 ส.ค. 56
6.สถานี NAN005-แม่น้ำเข็ก (ว้งทอง) ต. วังนกแอ่น อ. วังทอง จ. พิษณุโลก มีน้ำล้นตลิ่ง 2 ช่วง คือ ช่วงกลางเดือนและช่วงปลายเดือน ส.ค. 56 ระดับน้ำสูงสุดที่วัดได้ 137.02 ม.รทก. วันที่ 11 ส.ค. 56
7.สถานี PAS001-หล่มสัก ต. หล่มสัก อ. หล่มสัก จ. เพชรบูรณ์ ระดับน้ำล้นตลิ่งสูงสุด 145.38 ม.รทก. วันที่ 24 ส.ค. 56
8.สถานี PAS004- วิเชียรบุรี ต. ท่าโรง อ. วิเชียรบุรี จ. เพชรบูรณ์ มีน้ำล้นตลิ่งตามธรรมชาติเิกิดขึ้น 3 ช่วง คือ ช่วงต้นเดือน กลางเดือน และปลายเดือน ส.ค. 56 ระดับน้ำล้นตลิ่งธรรมชาติสูงสุดที่วัดได้ 63.94 ม.รทก. วันที่ 30 ส.ค. 56
9.สถานี SKE001-คลองพระปรง ต. ศาลาลำดวน อ. เมืองสระแก้ว จ. สระแก้ว ระดับน้ำล้นตลิ่งสูงสุด 16.93 ม.รทก. วันที่ 6 ส.ค. 56

รายละเอียดเพิ่มเติม : http://www.thaiwater.net/wl_summary.php


แผนที่น้ำท่วมรายเดือน


กรกฎาคม 2556
พื้นที่น้ำท่วมรวมทั้งสิ้น 226,895 ไร่

สิงหาคม 2556
พื้นที่น้ำท่วมรวมทั้งสิ้น 1,474,157 ไร่
จังหวัด
พื้นที่น้ำท่วม (ไร่) 
จันทบุรี          11,623.91
เชียงราย        124,469.67
ตราด          16,536.00
ตาก          65,962.30
นครสวรรค์                94.26
พิษณุโลก            5,738.25
ระยอง            2,470.63
รวมพื้นที่น้ำท่วม
ประจำเดือนกรกฎาคม 2556
       226,895.01
 
จังหวัด
พื้นที่น้ำท่วม (ไร่) 
กำแพงเพชร                   338
เชียงราย             184,014
เชียงใหม่               10,425
ตาก                1,053
นครพนม             177,919
บึงกาฬ             174,853
ปราจีนบุรี                9,817
พะเยา                9,119
พิจิตร               47,973
พิษณุโลก               69,671
ยโสธร                   955
ร้อยเอ็ด                7,349
ลำปาง               31,491
ลำพูน                   898
สกลนคร             195,344
สุโขทัย             138,946
หนองคาย             109,799
อุดรธานี               66,635
อุตรดิตถ์             237,557
รวมพื้นที่น้ำท่วม
ประจำเดือนสิงหาคม 2556
         1,474,157




ภาพถ่ายดาวเทียมแสดงพื้นที่น้ำท่วม
โดย สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (GISTDA)

รายงานการติดตามพื้นที่น้้าท่วม ปี 2556 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม RADARSAT-2
บันทึกภาพวันที่ 3 สิงหาคม 2556 เวลา 18.20 น.
บริเวณบางส่วนของจังหวัดเชียงราย หนองคาย และอุดรธานี

รายละเอียดเพิ่มเติม

รายงานการติดตามพื้นที่น้้าท่วม ปี 2556 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม COSMO-SkyMed-4
บันทึกภาพวันที่ 5 สิงหาคม 2556 เวลา 18.27 น.
บริเวณบางส่วนของจังหวัด นครพนม บึงกาฬ และสกลนคร

รายละเอียดเพิ่มเติม

รายงานการติดตามพื้นที่น้้าท่วม ปี 2556 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม COSMO-SkyMed-1
บันทึกภาพวันที่ 7 สิงหาคม 2556 เวลา 17.52 น.
บริเวณบางส่วนของจังหวัดนครพนม บึงกาฬ สกลนคร หนองคาย และอุดรธานี

รายละเอียดเพิ่มเติม

รายงานการติดตามพื้นที่น้้าท่วม ปี 2556 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม COSMO-SkyMed-4
บันทึกภาพวันที่ 9 สิงหาคม 2556 เวลา 18.03 น.
บริเวณบางส่วนของจังหวัดเชียงราย

รายละเอียดเพิ่มเติม

รายงานการติดตามพื้นที่น้้าท่วม ปี 2556 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม COSMO-SkyMed-2
บันทึกภาพวันที่ 10 สิงหาคม 2556 เวลา 05.57 น.
บริเวณบางส่วนของจังหวัดยโสธร ร้อยเอ็ด อุดรธานี หนองคาย สกลนคร บึงกาฬ นครพนม

รายละเอียดเพิ่มเติม

รายงานการติดตามพื้นที่น้้าท่วม ปี 2556 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม RADARSAT-2
บันทึกภาพวันที่ 10 สิงหาคม 2556 เวลา 18.14 น.
บริเวณบางส่วนของจังหวัดนครพนม บึงกาฬ หนองคาย สกลนคร และอุดรธานี

รายละเอียดเพิ่มเติม

รายงานการติดตามพื้นที่น้้าท่วม ปี 2556 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม COSMO-SkyMed-2
บันทึกภาพวันที่ 11 สิงหาคม 2556 เวลา 06.16 น.
บริเวณบางส่วนของจังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ ล้าปาง และพะเยา

รายละเอียดเพิ่มเติม

รายงานการติดตามพื้นที่น้้าท่วม ปี 2556 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม RADARSAT-2
บันทึกภาพวันที่ 12 สิงหาคม 2556 เวลา 06.11 น.
บริเวณบางส่วนของจังหวัดอุตรดิตถ์ สุโขทัย พิษณุโลก หนองคาย และอุดรธานี

รายละเอียดเพิ่มเติม

รายงานการติดตามพื้นที่น้้าท่วม ปี 2556 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม RADARSAT-2
บันทึกภาพวันที่ 13 สิงหาคม 2556 เวลา 18.25 น.
บริเวณบางส่วนของจังหวัดอุตรดิตถ์ สุโขทัย พิษณุโลก และเชียงราย

รายละเอียดเพิ่มเติม

รายงานการติดตามพื้นที่น้้าท่วม ปี 2556 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม COSMO-SkyMed-1
บันทึกภาพวันที่ 14 สิงหาคม 2556 เวลา 18.21 น.
บริเวณบางส่วนของจังหวัดนครพนม สกลนคร บึงกาฬ อุดรธานี และหนองคาย

รายละเอียดเพิ่มเติม

รายงานการติดตามพื้นที่น้้าท่วม ปี 2556 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม RADARSAT-2
บันทึกภาพวันที่ 15 สิงหาคม 2556 เวลา 06.24 น.
บริเวณบางส่วนของจังหวัดเชียงราย ล้าปาง ล้าพูน พะเยา และเชียงใหม่

รายละเอียดเพิ่มเติม

รายงานการติดตามพื้นที่น้้าท่วม ปี 2556 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม COSMO-SkyMed-1
บันทึกภาพวันที่ 16 สิงหาคม 2556 เวลา 06.10 น.
บริเวณบางส่วนของจังหวัดเชียงราย พะเยา และสุโขทัย

รายละเอียดเพิ่มเติม

รายงานการติดตามพื้นที่น้้าท่วม ปี 2556 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม COSMO-SkyMed-4
บันทึกภาพวันที่ 16 สิงหาคม 2556 เวลา 18.34 น.
บริเวณบางส่วนของจังหวัดตาก

รายละเอียดเพิ่มเติม

รายงานการติดตามพื้นที่น้้าท่วม ปี 2556 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม RADARSAT-2
บันทึกภาพวันที่ 17 สิงหาคม 2556 เวลา 18.10 น.
บริเวณบางส่วนของจังหวัดนครพนม บึงกาฬ และสกลนคร

รายละเอียดเพิ่มเติม

รายงานการติดตามพื้นที่น้้าท่วม ปี 2556 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม RADARSAT-2
บันทึกภาพวันที่ 20 สิงหาคม 2556 เวลา 18.23 น.
บริเวณบางส่วนของจังหวัดสุโขทัย พิจิตรและพิษณุโลก

รายละเอียดเพิ่มเติม

รายงานการติดตามพื้นที่น้้าท่วม ปี 2556 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม RADARSAT-2
บันทึกภาพวันที่ 23 สิงหาคม 2556 เวลา 18.34 น.
บริเวณบางส่วนของจังหวัดอุตรดิตถ์ สุโขทัย พิจิตร ล้าปาง และพิษณุโลก

รายละเอียดเพิ่มเติม

รายงานการติดตามพื้นที่น้้าท่วม ปี 2556 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม COSMO-SkyMed-4
บันทึกภาพวันที่ 25 สิงหาคม 2556 เวลา 18.03 น.
บริเวณบางส่วนของจังหวัดเชียงราย สุโขทัย พิจิตร และพิษณุโลก

รายละเอียดเพิ่มเติม

   
       


ข้อมูลด้านความเสียหายโดยกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

รายงานสถานการณ์สาธารณภัย ประจำวันที่ 8 สิงหาคม 2556 เวลา 16.30 น.
(ตัดมาเฉพาะรายงานสถานการณ์อุทกภัย)

จังหวัดบึงกาฬ วันที่ 7-8 กรกฎาคม 2556 เกิดฝนตกหนักวัดปริมาณน้ำฝนสูงสุดที่ อำเภอบุ่งคล้า 225.4 มม. ทำให้เกิดน้ำท่วมฉับพลันในพื้นที่ 3 อำเภอ 7 ตำบล 31 หมู่บ้าน ดังนี้
1) อำเภอพรเจริญ 5 ตำบล 29 หมู่บ้าน ได้แก่ ตำบลดอนหญ้านาง (หมู่ที่ 1-7) หนองหัวช้าง (หมู่ที่ 2,4,6,8-11) ศรีสำราญ (หมู่ที่ 1-7) ศรีชมภู (หมู่ที่ 1,3,5,6) และตำบลวังชมภู (หมู่ที่ 2,4,7,9)
2) อำเภอโซ่พิสัย ตำบลคำแก้ว (หมู่ที่ 7) น้ำท่วมถนนสายคำแก้ว-บึงกาฬ รถเล็กไม่สามารถสัญจรไปมาได้
3) อำเภอบุ่งคล้า โรงเรียนบ้านนาจาน (หมู่ที่ 4) ตำบลบุ่งคล้า

รายงานสถานการณ์สาธารณภัย ประจำวันที่ 10 สิงหาคม 2556 เวลา 16.30 น.
จังหวัดที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัย ตั้งแต่วันที่ 7-10 สิงหาคม 2556 รวม 7 จังหวัด 20 อำเภอ 52 ตำบล 374 หมู่บ้าน ได้แก่ จังหวัดลำปาง แม่ฮ่องสอน เชียงราย เชียงใหม่ สุรินทร์ หนองคาย และจังหวัดบึงกาฬ ส่วนที่จังหวัดเชียงราย ช่วงเช้าวันที่ 10 สิงหาคม 2556 น้ำจากแม่น้ำแม่สายเอ่อล้นตลิ่งเข้าท่วมในพื้นอำเภอแม่สาย บริเวณเทศบาลตำบลแม่สาย (ตลาดสายลมจอย และทางรอดใต้สะพานข้ามแม่น้ำ)


รายงานสถานการณ์สาธารณภัย ประจำวันที่ 13 สิงหาคม 2556 เวลา 16.30 น.
จังหวัดที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัย ตั้งแต่วันที่ 7-13 สิงหาคม 2556 รวม 12 จังหวัด 27 อำเภอ 63 ตำบล 420 หมู่บ้าน ได้แก่ จังหวัดลำปาง แม่ฮ่องสอน เชียงราย เชียงใหม่ สุรินทร์ หนองคาย บึงกาฬ อำนาจเจริญ อุดรธานี อุตรดิตถ์ ตาก และจังหวัดนครสวรรค์ ปัจจุบันสถานการณ์คลี่คลายแล้ว 11 จังหวัด อยู่ระหว่างการฟื้นฟู และยังคงมีสถานการณ์ในพื้นที่ 1 จังหวัด ดังนี้
จังหวัดนครสวรรค์ วันที่ 12 สิงหาคม 2556 ฝนตกหนักต่อเนื่องทำให้เกิดน้ำป่าไหลหลากในพื้นที่ 2 อำเภอ 6 ตำบล 37 หมู่บ้าน 1 เทศบาลตำบล ดังนี้
1) อำเภอลาดยาว 6 ตำบล 37 หมู่บ้าน 1 เทศบาลตำบล ได้แก่ ตำบลลาดยาว (หมู่ที่ 2-7,9-11,13,14) ศาลเจ้าไก่ต่อ (หมู่ที่ 2,5,8,9,11) สระแก้ว (หมู่ที่ 1-3,6,8,9) บ้านไร่ (หมู่ที่ 10,26-28) หนองนมวัว(หมู่ที่ 1-9) เนินขี้เหล็ก (หมู่ที่ 10,12) และ เขตเทศบาลตำบลลาดยาว (หมู่ที่ 4-7,13) บริเวณถนนสายลาดยาว-แม่วงก์ และ ไหลเข้าท่วมพื้นที่ติดริมคลองในเขตเทศบาลตำบลลาดยาว ระดับน้ำสูงประมาณ 30 ซม.
- อำเภอแม่วงก์ น้ำป่าจากเทือกเขาแม่วงก์ทะลักเข้าท่วมแก่งเกาะใหญ่


รายงานสถานการณ์สาธารณภัย ประจำวันที่ 15 สิงหาคม 2556 เวลา 16.30 น.
จังหวัดพิจิตร เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2556 ได้เกิดน้ำป่าไหลหลากเข้าท่วมพื้นที่การเกษตร ในพื้นที่ 2 อำเภอ 4 ตำบล 7 หมู่บ้าน ดังนี้
1) อำเภอสากเหล็ก 3 ตำบล 5 หมู่บ้าน ได้แก่ ตำบลสากเหล็ก (หมู่ที่ 5,9) ท่าเยี่ยม (หมู่ที่ 1) และตำบลวังทับไทร (หมู่ที่ 2,5) ราษฎรได้รับความเดือดร้อน 79 ครัวเรือน พื้นที่การเกษตร 2,186 ไร่ บ่อปลา 10 บ่อ
2) อำเภอวังทรายพูน ตำบลหนองปลาไหล (หมู่ที่ 4,11) ราษฎรได้รับความเดือดร้อน 25 ครัวเรือน 86 คน พื้นที่การเกษตร 143 ไร่

จังหวัดกำแพงเพชร
เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2556 เวลา 10.00 น. เกิดฝนตกหนักต่อเนื่องทำให้เกิดน้ำป่าไหลหลากเข้าท่วมในพื้นที่ 2 อำเภอ 3 ตำบล 22 หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน 1,973 ครัวเรือน 5,873 คน พื้นที่การเกษตร 10,700 ไร่ ดังนี้
1) อำเภอคลองขลุง ตำบลวังไทร (หมู่ที่ 1-4) ราษฎรได้รับความเดือดร้อน 450 ครัวเรือน 1,300 คน พื้นที่การเกษตร 700 ไร่
2) อำเภอขาณุวรลักษบุรี 2 ตำบล ได้แก่ ตำบลสลกบาตร (หมู่ที่ 1,2,5-7) และตำบลปางมะค่า (หมู่ที่ 1-8,13,19,21-24) ราษฎรได้รับความเดือดร้อน 1,523 ครัวเรือน 4,573 คน พื้นที่การเกษตร 10,000 ไร่

จังหวัดนครสวรรค์ เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2556 ฝนตกหนักต่อเนื่องทำให้เกิดน้ำป่าไหลหลาก ในพื้นที่ 2 อำเภอ ได้แก่อำเภอแม่วงก์และอำเภอลาดยาว 6 ตำบล 44 หมู่บ้าน ได้แก่ ตำบลลาดยาว (หมู่ที่ 2-7,9-11,13,14) ทั้งในเขตและนอกเขตเทศบาลตำบลลาดยาว ศาลเจ้าไก่ต่อ (หมู่ที่ 2,5,8,8,11) สระแก้ว (หมู่ที่ 1-3,6,8,9) บ้านไร่ (หมู่ที่ 3,6,10,11,18-20,23,26,28) หนองนมวัว (หมู่ที่ 1-9) เนินขี้เหล็ก (หมู่ที่ 10,12) ราษฎรได้รับความเดือดร้อน 1,250 ครัวเรือน 3,855 คน บ้านเรือนราษฎรถูกน้ำท่วมขัง 175 หลัง พื้นที่นาข้าว 8,200 ไร่ พืชไร่ 1,200 ไร่

รายงานสถานการณ์สาธารณภัย ประจำวันที่ 25 สิงหาคม 2556 เวลา 16.30 น.
จังหวัดเพชรบูรณ์ เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2556 เวลา 23.00 น. ปริมาณน้ำฝนจากต้นน้ำน้ำพุง และต้นน้ำหล่มสัก ได้ไหลเข้าท่วมพื้นที่ 2 อำเภอ 4 ตำบล 26 หมู่บ้าน ดังนี้
1) อำเภอหล่มเก่า ตำบลศิลา (หมู่ที่ 3,4,5,6,7,8,12,15)
2) อำเภอหล่มสัก 3 ตำบล 1 เทศบาล 18 หมู่บ้าน ได้แก่ เทศบาลเมืองหล่มสัก (ชุมชน วัดทุ่งจันทร์สมุทร, ชุมชนบ้านไร่, ชุมชนท่ากกโพธิ์ ชุมชนวัดไพรสณฑ์) ตำบลสักหลง (หมู่ที่ 1-5,7-11) ตาลเดี่ยว (หมู่ที่ 1-4,9,11) และตำบลวัดป่า (หมู่ที่ 1,2) ระดับสูงประมาณ 20-23 เซนติเมตร ราษฎรได้รับความเดือดร้อน 452 ครัวเรือน 1,525 คน
จังหวัดพิจิตร เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2556 ได้เกิดน้ำป่าไหลหลากเข้าท่วมพื้นที่การเกษตร ในพื้นที่ 2 อำเภอ 4 ตำบล 9 หมู่บ้าน ดังนี้
1) อำเภอสากเหล็ก 3 ตำบล 5 หมู่บ้าน ได้แก่ ตำบลสากเหล็ก (หมู่ที่ 5,9,13,15) ท่าเยี่ยม (หมู่ที่ 1) และตำบลวังทับไทร (หมู่ที่ 2,5) ราษฎรได้รับความเดือดร้อน 79 ครัวเรือน พื้นที่การเกษตร 2,186 ไร่ บ่อปลา 10 บ่อ
2) อำเภอวังทรายพูน ตำบลหนองปลาไหล (หมู่ที่ 4,11) ราษฎรได้รับความเดือดร้อน 25 ครัวเรือน 86 คน พื้นที่การเกษตร 143 ไร่
จังหวัดเชียงราย เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2556 เวลา 07.00 น. เกิดฝนตกหนักในพื้นที่อำเภอเวียงเชียงรุ้ง วัดได้ 113.5 มม. ทำให้เกิดน้ำป่าไหลหลาก ในพื้นที่ 2 อำเภอ 3 ตำบล 14 หมู่บ้าน ดังนี้
1) อำเภอพญาเม็งราย ตำบลแม่เปา (หมู่ที่ 1-3,11,14,16,19,20)
2) อำเภอเวียงเชียงรุ้ง 2 ตำบล ได้แก่ ตำบลบ้านเหล่า (หมู่ที่ 4) และตำบลทุ่งก่อ (หมู่ที่ 4,6,10-12)
จังหวัดหนองคาย เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2556 เกิดฝนตกหนักในพื้นที่อำเภอโพนพิสัย วัดได้ 113.0 มม. ทำให้เกิดน้ำท่วมในพื้นที่ 1 อำเภอ 3 ตำบล 13 หมู่บ้าน ได้แก่ อำเภอโพนพิสัย ตำบลเชิม (หมู่ที่ 1-10) นาหนัง (หมู่ที่ 2,6) และตำบลจุมพล (หมู่ที่ 20) พื้นที่การเกษตร 225 ไร่ บ่อปลา 50 บ่อ



ข่าวจากหนังสือพิมพ์
------------------------------------------------------------------------------------
ฝนถล่มหนัก ทำเชียงใหม่น้ำท่วมทางเข้า-ออกสนามบิน บางจุดลึกเกือบเมตร [ ผู้จัดการออนไลน์ : 24 ก.ค. 56 ]
เชียงใหม่ - ฝนตกหนักน้ำท่วมเชียงใหม่หลายจุด ถนนหลักทางเข้าท่าอากาศยานเชียงใหม่น้ำท่วมกว่าเมตร รถที่สัญจรไปมาเสียหายหลายคัน

       เมื่อเวลา 10.00 น. วันนี้ (24 ก.ค.) เกิดน้ำท่วมขังในตัวเมืองเชียงใหม่หลายจุดเนื่องจากฝนตกหนักตั้งแต่ช่วงเช้า มืด โดยถนนสนามบินทางเข้าท่าอากาศยานจังหวัดเชียงใหม่ ทั้งฝั่งขาเข้าเมือง หน้าปั๊ม ปตท. ตรงข้ามด่านตรวจคนเข้าเมืองเชียงใหม่ น้ำท่วมในช่วงแรกสูงเกือบหนึ่งเมตร ทำให้ผู้ที่ใช้ยวดยานสัญจรไปมา โดยเฉพาะรถเล็กหรือรถจักรยานยนต์เครื่องยนต์ดับคาถนนหลายคัน เจ้าหน้าที่แขวงการทางจังหวัดต้องเข้าช่วยดูแลด้านการจราจร และแจ้งเตือนให้รถที่ขับผ่านย่านดังกล่าวชิดซ้าย เพราะกลางถนนมีปริมาณน้ำท่วมสูง ทำให้การจราจรติดขัดเนื่องจากเป็นถนนสายหลักที่ประชาชนจำนวนมากต้องใช้เดิน ทางไปทำงาน และส่งลูกหลานเรียนหนังสือ ประกอบกับมีบุคคลต่างด้าวเดินทางมาลงทะเบียนที่ด่านตรวจคนเข้าเมือง เชียงใหม่จำนวนมากด้วย

       สำหรับสาเหตุที่ทำให้น้ำท่วมสูง เกิดจากท่อระบายน้ำอุดตันไม่สามารถระบายน้ำได้ ซึ่งเจ้าหน้าที่แขวงการทางฯ กำลังเร่งแก้ไขอยู่

       นอกจากนี้น้ำยังเอ่อเข้าท่วมชุมชนศรีปิงเมือง ต.หายยา อ.เมือง งกว่า 1 เมตร จนมาถึงสี่แยกไฟแดงประตูหายยา

       ด้านเจ้าหน้าที่สถานีวิทยุกระจายเสียงทหารอากาศเชียงใหม่แจ้งว่า พบแผ่นทะเบียน นค 2772 เชียงใหม่ ลอยมากับน้ำ เจ้าของสามารถมาติดต่อขอรับในวัน และเวลาราชการ

       นางเพ็ญศิริ ตรีสัตย์ เวรพยากรณ์อากาศ ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ กล่าวว่า ร่องมรสุมกำลังแรงพาดผ่านภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เข้าสู่หย่อมความกดอากาศตาบริเวณทะเลจีนใต้ ประกอบกับมรสุมตะวันตกเฉียงใต้กาลังแรงยังคงพัดปกคลุมทะเลอันดามัน ภาคใต้ และอ่าวไทย ทำให้ประเทศไทยมีฝนตกชุกหนาแน่น และมีฝนตกหนักถึงหนักมากบางแห่ง

       ขอให้ประชาชนบริเวณภาคเหนือ โดยเฉพาะบริเวณจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย พะเยา น่าน แพร่ อุตรดิตถ์ สุโขทัย พิษณุโลก และเพชรบูรณ์ ระวังอันตรายจากอุทกภัยในระยะนี้ไว้ด้วย ภาคเหนือตอนบนมีฝนฟ้าคะนองเกือบทั่วไปร้อยละ 70 ของพื้นที่ และมีฝนตกหนักถึงหนักมากบางแห่ง ส่วนมากบริเวณจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย พะเยา น่าน และแพร่

       อุณหภูมิต่ำสุด 23-24 องศาเซลเซียส สูงสุด 30-33 องศาเซลเซียส ลมแปรปรวน ความเร็ว 10-30 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ปริมาณฝนสูงสุดวานนี้วัดได้ 98.7 มิลลิเมตร ที่ท่าอากาศยานนานาชาติเชียงใหม่ อ.เมือง



------------------------------------------------------------------------------------

ถล่มอุตรดิตถ์ทำน้ำท่วมหลายอำเภอ ชาวบ้านถูกตัดขาด 300 ครัวเรือน [ ผู้จัดการออนไลน์ : 23 ส.ค. 56 ]
อุตรดิตถ์ - ฝนถล่มหนักทำน้ำทะลักท่วมหลายอำเภอ กระแสน้ำพัดคอสะพานเข้าหมู่ 5 ต.ขุนฝาง ขาดสะบั้น ทำชาวบ้านกว่า 300 ครอบครัวถูกตัดขาด

       เมื่อเวลาประมาณ 05.00 น.วันนี้ (23 ส.ค.) เกิดน้ำป่าไหลหลากเข้าท่วมบ้านเรือนและพื้นที่การเกษตรใน ต.น้ำหมัน อ.ท่าปลา อ.ฟากท่า อ.ตรอน และอ.ลับแล โดยเฉพาะ ต.ขุนฝาง อ.เมือง น้ำป่ากัดเซาะคอสะพานขาดทำให้ชาวบ้านหมู่ 5 ต.ขุนฝาง กว่า 300 ครอบครัวถูกตัดขาด หลังจากคืนที่ผ่านมา (22 ส.ค.) เกิดฝนตกหนัก วัดปริมาณน้ำฝนได้สูงถึง 135 มิลลิเมตร

       นอกจากนี้ กระแสน้ำป่าที่เชี่ยวกรากยังทำให้เรือท้องแบนของสำนักงานป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยจังหวัด ที่กำลังลำเลียงอาหารส่งให้ชาวบ้านที่ติดค้างอยู่ภายในหมู่บ้านพลิกคว่ำกลาง ลำน้ำ โชคดีไม่มีผู้ใดได้รับบาดเจ็บ

       ล่าสุดนายเฉลิมชัย เฟื่องคอน ผู้ว่าราชการจังหวัดอุตรดิตถ์ นายสุรชัย ธัชกวิน ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด กำลังทหารจากจังหวัดทหารบกอุตรดิตถ์ 60 นาย เร่งเข้าช่วยเหลือชาวบ้าน ต.ขุนฝาง

       สถานการณ์ล่าสุดฝนหยุดตกแล้ว แต่ท้องฟ้ายังมืดครึ้ม ทางราชการยังคงประกาศเตือนให้ชาวบ้านและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เฝ้าระวังสถานการณ์อย่างต่อเนื่อง




------------------------------------------------------------------------------------

หนองคายฝนตก น้ำท่วมถนน-นาข้าว [ ผู้จัดการออนไลน์ : 23 ส.ค. 56 ]
หนองคาย - น้ำในลำห้วยเอ่อล้นท่วมที่นาและเส้นทางคมนาคมระหว่างหมู่บ้าน ปภ.จัดส่งเรือท้องแบนสนับสนุน ฝ่ายปกครอง-อบต.จัดกำลังดูแลความปลอดภัยตลอด 24 ชั่วโมง

       วันนี้ (23 ส.ค.) ผู้สื่อข่าวรายงานจาก จ.หนองคาย ว่าฝนที่ตกต่อเนื่องหลายวันทำให้น้ำในลำห้วยเซิม ห้วยขี้เหล็ก ห้วยพอก ห้วยยาง และห้วยทราย ได้ไหลลงมารวมกันที่ลำห้วยโคน จนปริมาณน้ำเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วจนเอ่อล้นลำห้วยเข้าท่วมพื้นที่นา ต.เซิม อ.โพนพิสัย กว่า 200 ไร่

       นอกจากนี้ยังได้เอ่อท่วมถนนระหว่างบ้านคำตอยาง หมู่ 7 กับบ้านสุขสำราญ หมู่ 8 ต.เซิม ระดับน้ำสูงประมาณ 30 เซนติเมตร ส่งผลให้การสัญจรเป็นไปด้วยความยากลำบาก ซึ่งทางอำเภอได้ขอสนับสนุนเรือท้องแบนจากสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัด 1 ลำ และจัดกำลังอาสาสมัครรักษาดินแดนอำเภอโพนพิสัย มาสมทบกับอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.) กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และพนักงานองคืการบริหารส่วนตำบล (อบต.) เซิม ดูแลความปลอดภัยให้แก่ชาวบ้านตลอด 24 ชั่วโมง



------------------------------------------------------------------------------------
น้ำป่าทะลักท่วมนาพิจิตร 4 พันไร่-จม 58 หลัง [ ผู้จัดการออนไลน์ : 14 ส.ค. 56 ]

เมื่อวันที่ 14 ส.ค. จากฝนตกลงมาอย่างหนักต่อเนื่องติดต่อกันหลายวันส่งผลให้เกิดน้ำป่าที่ไหล หลากมาจากเทือกเขาเพชรบูรณ์ไหลบ่าเข้าท่วมนาข้าวของชาวนาต.หนองปลาไหล มู่ที่ 1 และหมู่ที่ 16 กว่า 500 ไร่ นอกจากนี้ น้ำป่าดังกล่าวยังไหลทะลักเข้าท่วมลำคลองวังทรายพูน ในเขตเทศบาลตำบลวังทรายพูน จนคลองดังกล่าวระบายน้ำไม่ทัน

เนื่องจากประตูระบายน้ำมีขนาดเล็ก ทำให้น้ำในลำคลองล้นลำคลองไหลทะลักเข้าท่วม ถนน เข้าหมู่บ้าน หลังวัดเขต ในเขตเทศบาลวังทรายพูน อ.วังทรายพูน ซึ่งเป็นถนนเชื่อมติดต่อหมู่บ้านหมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 4 ทำ ให้ประชาชน เด็กนักเรียนสัญจรไปมาได้รับความลำบาก เทศบาลตำบลสากเหล็กต้องระดมเจ้าหน้าที่เร่งเก็บวัชพืชที่มากับน้ำที่ขวางทาง น้ำออกจากประตูน้ำเพื่อจะได้ระบายน้ำได้เร็วขึ้น

ขณะที่อ.สากเหล็ก ได้เกิดน้ำป่าที่ไหลมาจากอำเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก ไหลเข้าท่วมบ้านเรือนประชาชนหมู่ที่ 1 ตำบลท่าเยี่ยม อำเภอสากเหล็ก จังหวัดพิจิตร จำนวน 58 หลังคาเรือน นอกจากนี้ นำป่าดังกล่าวยังไหลเข้าท่วมนาข้าวเกษตรกรชาวนาหมู่ที่ 1-6ตำบลท่าเยี่ยม และตำบลทับไทรหมู่ที่ 1 -7หมู่บ้าน นาข้าว ถูกน้ำท่วมกว่า 4,000 ไร่

ด้านนายพิพิศ อาริยะอารีธรรม สจ.เขตอำเภอสากเหล็ก กล่าวว่า น้ำป่าที่มาจากอำเภอเนินมะปรางไหลบ่าเข้าท่วมบ้านเรือนประชาชน หมู่ที่ 1 จำนวน 58 หลังคาเรือน ไร่นาถูกน้ำป่าท่วมอีก 2 ตำบล คือ ต.ท่าเยี่ยม กับต.ทับไทร กว่า 4,000 ไร่ ซึ่งยังไม่ได้รับความเสียหายหากฝนตกลงมาต่อเนื่องอย่างนี้อีก 2 วันคาดว่า จะได้รับความเสียหายแน่นอน

------------------------------------------------------------------------------------

พิษมังคุดทั่วเชียงรายทำฝนตกหนักดินทรุดน้ำท่วม [ เดลินิวส์ : 9 ส.ค. 56 ]

เมื่อเวลา 12.00 วันที่ 9 ส.ค. ผู้สื่อข่าวรายงานจาก จ.เชียงราย ว่าจากที่ได้เกิดฝนตกหนักจากอิทธิพลของ "พายุมังคุด" ตลอดทั้งคืนและถึงช่วงตลอดทั้งวันนี้ ส่งผลทำให้หลายพื้นที่เกิดภาวะน้ำเอ่อล้นและดินทรุดตัว จากการสำรวจเบื้องต้นในเขตเทศบาลนครเชียงราย มีน้ำท่วมขังในหลายชุมชนตั้งแต่ช่วงคืนที่ผ่านมาจนถึงกลางวัน โดยเฉพาะบริเวณถนนสันโค้ง และถนนสี่แยกเด่นห้า ถนนหน้าค่ายเม็งรายมหาราช ถนนหน้าบ้านพักนายสิบ ถนนราชเดชดำรง ถนนธนาลัย  ฯลฯ ขณะที่ภายในชุมชนสันขี้เบ้ามีน้ำท่วมขังภายในชุมชนแล้ว อย่างไรก็ตามหลังเกิดเหตุนายวันชัย จงสุทธนามณี นายกเทศมนตรีนครเชียงราย ได้สั่งการให้เจ้าหน้าที่เร่งระบายน้ำตามจุดสำคัญเพื่อผันน้ำลงสู่แม่น้ำกก อย่างต่อเนื่องท่ามกลางฝนที่ตกลงมาอย่างหนัก

ที่บริเวณบนถนนพหลโยธินสาย เชียงราย-แม่สาย บริเวณบ้านป่าห้า ต.นางแล อ.เมือง ยังคงท่วมสูงอย่างต่อเนื่อง บางจุดน้ำท่วมสูงกว่า 1 เมตร กระแสน้ำไหลเชี่ยว การจราจรติดขัดเจ้าหน้าที่ต้องอำนวยความสะดวก เพราะบางช่องทางน้ำท่วมสูงรถไม่สามารถผ่านไปได้ นอกจากน้ำที่ท่วมผิวการจราจรยังท่วมบ้านเรือนประชาชนที่บ้านป่าแฝก ซึ่งเป็นทางน้ำไหลระดับน้ำสูงกว่า 30 ซม. บ้านเรือนถูกน้ำท่วมกว่า 200 หลังคาเรือน เจ้าหน้าที่ทหารต้องนำกำลังเจ้าไปช่วยยกสิ่งของขึ้นที่สูง ส่วนด้านลุ่มแม่น้ำจันซึ่งไหลผ่าน อ.แม่จัน พบว่าระดับน้ำเริ่มเพิ่มสูงขึ้น แต่เนื่องจากมีการขุดลอกแม่น้ำมาก่อนหน้านี้ ทำให้ยังไม่เอ่อล้นเข้าท่วมบ้านเรือนริมฝั่ง ทว่าต้องเฝ้าระวังอยู่ทุกระยะ เนื่องจากอาจมีน้ำป่าไหลหลากเข้าไปสมทบกับปริมาณน้ำที่มีอยู่เดิม

ขณะเดียวกันได้เกิดเหตุการณ์ดินไถลหรือสไลด์ทับเส้นทางสายกิ่วสะไต-ดอย แม่สลอง ซึ่งเป็นรอยต่อหลายตำบลโดยดินจากเนินเขาที่สูงชัน ได้สไลด์ทับผิวจราจรจนไม่สามารถใช้เพื่อการสัญจรผ่านไปมาได้เจ้าหน้าที่ท้อง ถิ่นทั้งจาก ต.ป่าตึง ต.แม่สลองนอก และ ต.แม่สลองใน ต่างนำเครื่องจักรไปขุดตักดินให้พ้นทางแล้ว นอกจากนี้ยังเกิดน้ำท่วมในหลายพื้นที่ของ จ.เชียงราย เนื่องจากมีฝนตกลงมาอย่างต่อเนื่องและมีปริมาณมาก โรงเรียนหลายแห่งต้องหยุดการเรียนการสอน เนื่องจากมีน้ำท่วมขังสูง โดยเฉพาะบ้านน้ำม้า หมู่ 3 ,หมู่ 10 และหมู่ 13 เช่นเดียวกับถนนสายเวียงชัย-พญาเม็งราย ,ถนนสายศรีเวียง-แม่เลียบ มีน้ำท่วมขังถนนสูงกว่า 20 ซม. ส่วน อ.ดอยหลวง บ้านแม่บง บ้านแม่เรียบ บ้านใหม่ดอนงาม ต.โชคชัย น้ำได้ไหลหลากเข้าท่วมบ้านเรือนราษฎร ไปถึงพืชผลทางการเกษตร หน่วยงานท้องถิ่นออกทำการช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน

ด้านสำนักงาน ปภ.เชียงราย ได้แจ้งประกาศเตือนในพื้นที่ทั้ง 18 อำเภอของ จ.เชียงราย โดยเฉพาะ อ.เวียงเชียงรุ้ง ให้เฝ้าระวังระดับน้ำอย่างต่อเนื่อง เพราะบางพื้นที่มีน้ำท่วมแล้วและเกิดน้ำป่าไหลหลาก ทั้งนี้ยังตรวจพบว่าปริมาณน้ำฝนมากถึง 273 มิลลิเมตร ซึ่งถือว่าอันตรายทั้งน้ำป่าไหลหลากและน้ำล้นตลิ่ง



--------------------------------------------------------------------------------------

ฝนถล่ม-ดินสไลด์ เชียงรายอ่วม น้ำท่วม 6 อำเภอ [ ไทยรัฐ : 9 ส.ค. 56 ]

เชียงรายฝนตกหนัก ต่อเนื่องตลอดคืน ทำให้เกิดน้ำท่วม 6 อำเภอ ถนนหลายสายถูกน้ำท่วมสูง เทศบาลนครเชียงรายเร่งสูบน้ำเปิดทางจราจร...

เมื่อ เวลา 08.00 น. วันที่ 9 ส.ค. 56 มีรายงานว่าได้มีน้ำป่าจากเขาดอยนางแล ต.นางแล อ.เมือง จ.เชียงราย ได้ไหลทะลักเข้าท่วมหมู่บ้าน พื้นที่ไร่นา บ้านดอยพระบาทและบ้านป่าแฝก ต.นางแล เข้าท่วมถนนพหลโยธิน 4 เลน ซึ่งเป็นเส้นทางสายหลักเชียงราย-แม่สาย บริเวณบริษัท เมืองทองออโต้ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ผ่านหน้าบริษัท เสริมสุข ไปจนถึงสามแยกบ้านเด่น ต.แม่ข้ามต้ม อ.เมือง

โดยน้ำได้ไหลทะลักเข้าท่วมผิวจราจรขาออก ไปถึง อ.แม่จัน ต้องปิดการจราจร 1 ฝั่ง เป็นระยะทาง 8 กม. ทำให้การสัญจรไปมาติดขัดมาก นอกจากนั้น น้ำยังท่วมบ้านเรือนราษฎร ร้านค้า ร้านอาหาร เต็นท์รถ ได้รับความเสียหาย 10 หมู่บ้าน เจ้าหน้าที่ได้ระดมกำลัง ตำรวจ ทหารค่ายเม็งราย และหน่วยกู้ภัย นำกระสอบทราย รถยก เข้าช่วยชาวบ้านอย่างฉุกละหุก นอกจากนี้ เมื่อกลางดึกได้เกิดน้ำท่วมขังถนนหลายสายในเขตเทศบาล ซึ่งนายวันชัย จงสุทธนามณี นายกเทศมนตรีนครเชียงราย ได้นำเครื่องสูบน้ำออกระดมสูบน้ำเร่งการระบายน้ำ

ส่วน ที่ถนนสายกิ่วสะไต-แม่สลอง อ.แม่ฟ้าหลวง ได้เกิดดินสไลด์ ทำให้ต้องปิดการจราจร บริเวณบ้านจะกอนะ ต.ป่าตึง อ.แม่จัน เป็นระยะทางยาว 10 เมตร ขณะที่ อ.แม่สรวย ได้เกิดดินสไลด์ปิดถนน 3 สาย มีถนนสายหลัก แม่สรวย-ฝาง หลัก กม.19-20 ต.ป่าแดด ที่ถนนภายในหมู่บ้านห้วยไคร้-ห้วยน้ำอุ่น ต.วารี และถนนสาย วารี-ดอยช้าง หลัก กม.11-12 ระหว่าง บ.เล็กในป่าใหญ่ห้วยญาไซ ต.วาวี อ.แม่สรวย ที่ อ.ดอยหลวง น้ำได้ล้นแม่น้ำบง ไหลเข้าท่วม บ.หนองด่าน หมู่ 6 ต.โชคชัย ก่อนจะไหลลงแม่น้ำกก ทหารหน่วย นพค.35 ได้ระดมกำลังเข้าช่วยขนย้ายทรัพย์สินชาวบ้านขึ้นที่สูง

นอก จากนี้ ที่ อ.เวียงชัย แม่น้ำลาวได้เริ่มเอ่อล้นไหลเข้าท่วมพื้นที่ ต.เวียงเหนือ ชาวบ้านได้ช่วยกันระดมกระสอบทรายเข้าปิดกั้นทางน้ำไหลผ่านส่วนที่ อ.เชียงของ น้ำป่าจากดอยห้วยน้ำม้า ได้ไหลเข้าท่วมบ้านเรือน พื้นที่การเกษตร วัด โรงเรียน บ.น้ำม้า เชียงคาน ทุ่งอาง บ้านเต๋น บ้านใหม่ ต.สถาน กระแสน้ำได้ไหลเอ่อล้นลำคลองน้ำม้าอย่างเชี่ยวกราก ทะลักเข้าท่วมบ้านเรือน 2 ฝั่ง สะพานหลายแห่งเสียหาย ถนนระหว่างหมู่บ้านถูกตัดขาด ไม่สามารถสัญจรไปมาได้ นอกจากนี้ น้ำยังไหลเข้าบ้านทุ่งงิ้ว ศรีดอนมูล ต.ศรีดอนชัย ต.เวียง ใกล้สะพานข้ามแม่น้ำโขง ไทย-ลาว อย่างรวดเร็ว ซึ่งเจ้าหน้าที่ได้เร่งออกประชาสัมพันธ์แจ้งเตือนชาวบ้านให้ระมัดระวังยก ทรัพย์สินขึ้นที่สูงแล้ว



--------------------------------------------------------------------------------------

น้ำท่วมเมืองเชียงรายสูงกว่า 50 เซ็นติเมตร การจราจรติดขัด [ มติชนออนไลน์ : 8 ส.ค. 56 ]

เมื่อเวลา 18.30 น. วันที่ 8 สิงหาคม ผู้สื่อข่าวรายงานว่าจากอิทธิพลพายุโซนร้อนมังคุด ทำให้เกิดฝนตกหนักในหลายพื้นที่ทั่วทั้งจ.เชียงราย โดยเฉพาะในเขตเทศบาลนครเชียงรายซึ่งฝนที่ตกอย่างหนักนานกว่า 2 ชั่วโมง ทำให้เกิดน้ำท่วมขังถนนหลายจุด โดยเฉพาะบริเวณถนนสันโค้ง และถนนสี่แยกเด่นห้า และถนนหน้าค่ายเม็งรายมหาราชถนนหน้าบ้านพักนายสิบ  และถนนราชเดชดำรง ถนนธนาลัย  ภายในเขตเทศบาลนครเชียงราย  บางจุดระดับน้ำท่วมสูงกว่า 50 เซนติเมตร รถเล็กสัญจรไปมาด้วยความยากลำบาก  นอกจากถนนน้ำยังได้ไหลเข้าท่วมบ้านเรือนราษฎรในชุมชนราชเดชดำรงบริเวณหน้า สำนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจังหวัดเชียงรายด้วย

ล่าสุดนายวันชัย จงสุทธนามณี นายกเทศมนตรีนครเชียงราย ได้สั่งการให้เจ้าหน้าที่เทศกิจเทศบาลนครเชียงรายได้นำกรวยมาวางและห้ามรถ เล็กผ่านบริเวณที่น้ำท่วมสูง  รวมทั้งยังได้เร่งเดินเครื่องสูบน้ำเพื่อระบายน้ำที่ท่วมขังถนนและบ้านเรือน ราษฎรในเขตเทศบาลนครเชียงรายลงแม่น้ำกกป้องกันน้ำท่วมในเขตเทศบาลนคร เชียงรายซึ่งเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจของจังหวัดเป็นวงกว้าง

ในขณะที่ทางจังหวัดโดยสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเชียงรายได้ ประกาศเตือนให้ประชาชนที่อาศัยในพื้นที่เสี่ยงภัยทั้ง 18 อำเภอเฝ้าระวังเหตุน้ำท่วมฉับพลัน น้ำป่าไหลหลากและดินโคลนถล่มจากฝนที่ตกหนักในระยะนี้อย่างใกล้ชิด

--------------------------------------------------------------------------------------
ชาวแม่สายสุดเซ็ง น้ำสายท่วมซ้ำซาก ปีนี้เจอแล้ว 4 รอบ [ ผู้จัดการออนไลน์ : 7 ส.ค. 56 ]
เชียงราย - คนชายแดนแม่สายสุดเซ็ง ลำน้ำสายทะลักร่วมร้านรวง-ชุมชนริมฝั่งซ้ำซาก บอกปีนี้เจอแล้ว 4 รอบ

       นางดวงดาว ภูมิผล เจ้าของร้านอาหารริมน้ำแม่สาย ซึ่งกั้นพรมแดนระหว่าง อ.แม่สาย จ.เชียงราย กับท่าขี้เหล็ก ประเทศพม่า กล่าวว่า แม้ที่ชายแดนจะไม่มีฝนตก แต่ระดับน้ำในแม่น้ำสายก็ขึ้นลงเพราะต้นน้ำไหลมาจากชั้นในของพม่า ทำให้ชาวบ้านและเจ้าของร้านค้าริมน้ำยังคงกังวลเรื่องระดับน้ำที่ขึ้นลงไม่ เป็นปกติ เนื่องจากปีนี้ถูกน้ำท่วมถึง 4 รอบแล้ว ล่าสุดเมื่อวานนี้ (6 ส.ค. 56) น้ำสายก็ทะลักเข้าท่วมร้านอาหารริมน้ำ ซึ่งตั้งอยู่ใต้สะพานมิตรภาพไทย-พม่า ริมฝั่งแม่น้ำสาย ต.แม่สาย อ.แม่สายอีกครั้งแล้ว

       เมื่อระดับน้ำลดลงแล้วทางร้านก็ให้พนักงานร่วมกันใช้อุปกรณ์ออกมาทำ ความสะอาดอีกเช่นเคย เพราะร้านตั้งอยู่ริมฝั่งน้ำสาย และอยู่ในที่ลุ่ม จึงมีดินโคลนตกค้างหนากว่า 10 เซนติเมตร ขณะที่ร้านอื่นๆ ร่วม 10 ร้านก็ได้รับผลกระทบเช่นกัน ผู้ประกอบการแต่ละรายต่างต้องช่วยกันทำความสะอาด และเฝ้าระวังเหตุในครั้งต่อไปด้วย

       นางดวงดาวบอกว่า ปัญหาส่วนหนึ่งมาจากสภาพลำน้ำที่ตื้นเขิน และการก่อสร้างสิ่งปลูกสร้างรุกล้ำเข้าไปในลำน้ำทำให้แม่น้ำสายแคบเป็นคอขวด เมื่อปริมาณน้ำมากทำให้ไม่สามารถระบายได้ทัน



--------------------------------------------------------------------------------------
น้ำท่วมเชียงราย ทำชาวบ้านเดือดร้อนแล้วกว่า 4 หมื่นคน [ ผู้จัดการออนไลน์ : 1 ส.ค. 56 ]
เชียงราย - สรุปผลกระทบน้ำท่วมเมืองพ่อขุนฯระลอกแรกปีนี้ 457 หมู่บ้าน ใน 70 ตำบล 16 อำเภอ อ่วม ชาวบ้านได้รับผลกระทบกว่า 4 หมื่นคน พื้นที่ทางการเกษตรทั้งนาข้าว-พืชไร่-สวนยาง ฯลฯ เสียหายกว่า 5 หมื่นไร่

       สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดเชียงราย (ปภ.) จ.เชียงราย ได้สรุปสถานการณ์อุทกภัย ว่า ตั้งแต่ 27-31 ก.ค.56 ที่ผ่านมา มีพื้นที่เสี่ยงภัยที่ได้รับผลกระทบแล้วจำนวน 16 อำเภอ 70 ตำบล 457 หมู่บ้าน ชาวบ้านประสบภัย จำนวน 14,354 ครัวเรือน รวม 44,430 คน บ้านเสียหายทั้งหลัง 6 หลัง เสียหายบางส่วน 19 หลัง ถนนเสียหาย 149 สาย คอสะพาน 7 แห่ง ฝายน้ำล้น 6 แห่ง ท่อระบายน้ำ 33 แห่ง ตลิ่งกั้นน้ำ 11 แห่ง เหมือง 2 แห่ง สะพาน 2 แห่ง นาข้าว 32,775 ไร่ พืชไร่ 7,474 ไร่ บ่อปลา 928 บ่อ พืชสวน 762 ไร่ ยางพารา 30 ไร่ ไก่ 2,134 ตัว

       นอกจากนี้ยังมีผู้เสียชีวิตจากฝนที่ตกหนัก รวมทั้งเหตุอุทกภัย 2 คน เนื่องจากดินไถลหรือสไลด์จนทำให้ท่อนไม้ล้มลงทับ 2 แม่ลูกชาว ต.วาวี อ.แม่สรวย จนเสียชีวิต และเกิดเหตุเด็กชายวัย 3 ขวบลงเล่นน้ำในแม่น้ำคำ พื้นที่บ้านนาโต่ ม.20 ต.แม่สลองใน หลังจากได้ลงไปเล่นน้ำที่ไหลเชี่ยวกราด และมีน้ำป่าไหลหลาก จนถึงขณะนี้(1 ส.ค.56) ยังไม่พบร่าง

       ด้านเทศบาลนครเชียงรายซึ่งมีประชากรหนาแน่นในเขตเมืองและมักมีปัญหา น้ำท่วมขังหลายรอบในช่วงที่ฝนตกหนักหลายวันที่ผ่านมานั้น นายทนง ดอนชัย รองนายกเทศมนตรีนครเชียงราย เตรียมส่งเจ้าหน้าที่เข้าแจ้งความเอาผิดกับผู้บุกรุกยึดคลองที่สาธารณะ ขวางกั้นทางระบายน้ำ ขณะเดียวกันจัดเจ้าหน้าที่พร้อมเครื่องจักรกลไปทำการรื้อถอนสิ่งก่อสร้างออก จากทางน้ำในบางจุด รวมทั้งตรวจสอบแนวห้วยร่องช้าง ซึ่งเป็นร่องระบายน้ำผ่านใจกลางเมืองตลอดสาย เพื่อขุดลอก -ปรับปรุงทางระบายน้ำหลายจุด เปิดทางน้ำไหลได้สะดวก

       ส่วนที่ อ.พญาเม็งราย ล่าสุดลำน้ำต้าก ซึ่งไหลผ่าน อ.พญาเม็งราย ได้เพิ่มปริมาณขึ้นจนล้นตลิ่งเข้าท่วมบ้านเรือนประชาชนในพื้นที่หมู่บ้าน ทุ่งเจ้า ม.14 และ ม.4 ต.แม่เปา อ.พญาเม็งราย จนทำให้ชาวบ้านต้องช่วยกันขนย้ายข้าวของไปไว้บนพื้นที่สูงแทบไม่ทัน กระทั่งช่วงเย็นวานนี้(31 ก.ค.) ระดับน้ำท่วมสูงตั้งแต่ 20-40 เซนติเมตร และริมฝั่งลึกกว่า 1 เมตร

       ล่าสุดทางอค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) แม่เปา ได้เข้าสำรวจพื้นที่ที่ถูกน้ำท่วมพบมีบ้านเรือนประชาชนถูกน้ำท่วม 621 หลังคาเรือน วัด 1 แห่ง โรงเรียน 1 แห่ง จึงมีการจัดเจ้าหน้าที่บรรสาธารณภัยเข้าช่วยเหลือชาวบ้านในเก็บข้าวของขึ้น อยู่บนที่สูงอย่างเร่งด่วน

       ขณะเดียวกันได้มีการนำน้ำดื่มเข้าแจกจ่ายเพื่อช่วยเหลือชาวบ้านใน เบื้องต้นไปก่อน รวมทั้งจัดเวรยามเฝ้าระวังตลอด 24 ชั่วโมง พร้อมเรือท้องแบน เพื่อช่วยเหลือชาวบ้านในยามฉุกเฉิน และดูระดับน้ำว่าจะเพิ่มสูงมากขึ้นหรือไม่ขณะที่สภาพทั่วไปยังคงครึ้มฟ้า ครึ้มฝน




--------------------------------------------------------------------------------------

ข้อมูลอ้างอิง

  • ไทยรัฐ http://www.thairath.co.th
  • เดลินิวส์ http://www.posttoday.com
  • ผู้จัดการออนไลน์ http://www.manager.co.th
  • มติชนออนไลน์ http://www.matichon.co.th