โดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้าและการเกษตร โทรมาตรเคลื่อนที่ขนาดเล็กคืออะไร ระบบโทรมาตร คือ อุปกรณที่สามารถตรวจวัดคาทางฟสิกส เคมี หรือ ชีวภาพ แลวสงคาที่วัดไดไปยังที่ที่กําหนดไวไดเอง ในเงื่อนไขตางๆ ที่กําหนดไว คาหรือขอมูลที่ตรวจวัดอาจจะเปน ขอมูลระดับเสียง อุณหภูมิ ความชื้น คาความเปนกรด ดาง หรือ ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ หรือ แมกระทั่งภาพถาย หรือ ขอมูลที่เกิดขึ้นจากตัวระบบ โทรมาตรเอง เชน สถานะการทํางาน เป็นต้น
ระบบโทรมาตรเคลื่อนที่ขนาดเล็ก เปนระบบโทรมาตรที่ออกแบบมาใหมีขนาดเล็ก ติดตั้งงาย ใชเวลาติดตั้งนอย และสามารถถอดเคลื่อนยายไดโดยงาย ตนแบบมาจาก Field Server ของประเทศญี่ปุ่น ระบบโทรมาตรเคลื่อนที่ขนาดเล็ก ไดรับแนวคิดในการนําอุปกรณมาใชตรวจวัดและสงขอมูลระยะไกล จากอุปกรณที่เรียกวา Field Server ของประเทศญี่ปุ่น ซึ่งวิจัยและพัฒนาโดยหนวยงานดานการเกษตรของรัฐบาลประเทศญี่ปุ่น (NARO) เหตุที่เรียกวา Field Server นั้น ตองเขาใจลักษณะพื้นฐานการสื่อสารที่ใชในประเทศญี่ปุ่น เสียกอน กลาวคือ ในประเทศญี่ปุ่นมีความกาวหนาทางเทคโนโลยี รวมถึงการสื่อสาร ดังนั้นรูปแบบการใหบริการสื่อสารของญี่ปุ่น มีหลายรูปแบบ ซึ่งรูปแบบหนึ่งที่เปนที่นิยมอยางมากในประเทศญี่ปุ่น คือ WI-FI หรือ ที่เรียกวา Wireless LAN เปนการสื่อสารของอุปกรณเชนเดียวกับการใชงานบนอินเทอรเน็ต ในบานเรา ทําใหอุปกรณไรสายตางๆ เชื่อมตอและใชงานบนอินเทอรเน็ต ไดโดยงาย ไมจําเปนตองเปนเครื่องคอมพิวเตอร อาจจะเปนโทรศัพทมือถือ หรืออุปกรณสงขอมูลตางๆ ระบบนี้มีขอดี คือ สามารถเชื่อมตอไดกับระบบอินเทอรเน็ตโดยตรง และเปนมาตรฐานกลางที่มีการใชงานกันอยูแลวทั่วโลก สามารถกําหนดรูปแบบการสื่อสารถึงตัวอุปกรณไดโดยตรงผานระบบ IP ดังนั้น อุปกรณ์ตางๆ ที่รับสงขอมูลดวยระบบนี้จึงมีความสามารถรับสงขอมูลและพัฒนาใหเชื่อมตอการทํางานไดหลากหลายมากขึ้น โครงขายนี้สามารถใชงานไดครอบคลุมทั้งประเทศญี่ปุ่น รวมถึงประเทศเกาหลี ก็ใชระบบนี้เชนกัน สําหรับประเทศไทย ระบบนี้กําลังพัฒนาและปรับใชในระบบ WI-FI ของ บริษัท True Move นั้นเอง ดังนั้น อุปกรณสามารถทํางานได เชนเดียวกับเครื่องคอมพิวเตอรที่ตอเขาอินเทอรเน็ต สามารถสงขอมูลทั้งรูปภาพ เสียง วิดีโอ ดังนั้น อุปกรณดังกลาวจึงทํางานเปน Server ไดดวยตัวเอง แตเปน Server ที่ไมไดติดตั้งไวในหอง แตเปนอุปกรณที่ติดตั้งอยูภายนอก ในภาคสนาม เพื่อใชรับสงขอมูล จึงเรียกวา Field Server นอกจากจะมีหัววัดเพื่อตรวจวัดและสงคาขอมูลตางๆ แลว ยัง สามารถติดกลองวิดีโอเพื่อถายภาพและสงภาพวิดีโอเขาอินเทอรเน็ตโดยผูใชจะอยูที่ไหนก็ไดถาสามารถเชื่อมอินเทอรเน็ต ก็จะสามารถดูขอมูลตางๆ และสั่งงานอุปกรณ Field Server ไดโดยตรง พัฒนาเพื่อประยุกตใหเหมาะสมในประเทศไทย
เมื่อป พ.ศ. 2546 หนวยงาน NARO ประเทศญี่ปุ่น ไดนําเสนออุปกรณ Field Serve เผยแพรในงานประชุมวิชาการ APAN ซึ่งมีกลุมประเทศตางๆ เขารวมและสนใจในประสิทธิภาพของอุปกรณดังกลาว เนื่องจาก มีรูปทรงเล็กเคลื่อนยายและติดตั้งไดโดยงายสามารถประยุกตใชงานไดหลากหลายรูปแบบและมีราคาถูกศูนยเทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ หรือ เนคเทค เปนหนวยงานที่รับเอาเทคโนโลยี Field Sever นี้มาทดลองประยุกตใชใหเขากับลักษณะการใชงานในประเทศไทย แตเนื่องจากการสื่อสารในประเทศไทย มีการใหบริการ Wi-Fi ไมครอบคลุมเชนในประเทศญี่ปุ่น จึงตองมีการปรับเปลี่ยนวิธีในการส่งข้อมูลใหเหมาะสม ซึ่งในระบบโทรมาตรที่มีใชกัน อยูทั่วไป มักใชการสงขอมูลในรูปของคลื่น VHF หรือ UHF ซึ่งเปนความถี่ที่ไดรับการจัดสรรเฉพาะ ซึ่งปจจุบันชองความถี่มีอยูอยางจํากัดและไมสะดวกในการใชงานที่หลากหลาย ทางเนคเทคจึงเลือกใชการสื่อสารผานเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ ในโหมดของการสื่อสารดิจิตอล หรือ GPRS (General Packet Radio Service) ซึ่งปจจุบันมีการใช งานอยางแพรหลายในโทรศัพทเคลื่อนที่ทั่วไป และเมื่อเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ไดเพิ่มขยายเครือขายสถานีมากขึ้น ครอบคลุมพื้นที่สวนใหญ และไมจํากัดจํานวนการเชื่อมตอ อีกทั้งยังสามารถพัฒนารูปแบบการใชงานที่หลากหลายมากขึ้น โดยคุณภาพของเครือขายการสื่อสารนั้น บริษัทผูใหบริการทั้ง AIS และ DTAC เปนผูดูแลและขยายเครือขายอยู่เสมอ จึงเปนรูปแบบที่เหมาะสมตอการใชงาน แตยังมีขอดอยบางประการเชน ในจุดอับสัญญาณโทรศัพท ทําใหไม่สามารถสงขอมูลได ซึ่งตองมีการพัฒนาระบบการสื่อสารอื่น ชวยเสริมการรับสงขอมูลในพื้นที่อับสัญญาณ เชน เพิ่มอัตราขยายสัญญาณในรูปแบบตางๆ หรือ ประยุกตใชการสื่อสารแบบอื่นๆ เพิ่มเติม เพื่อใหการสื่อสารสามารถใชงานได ระบบโทรมาตรเคลื่อนที่ขนาดเล็ก เปนโครงการที่นําเอาเทคโนโลยีของอุปกรณ Field Server มาประยุกต ปรับใชใหเหมาะสมกับประเทศไทย โดยเริ่มศึกษา พัฒนา ทดสอบ โดยเนคเทค และตอมาโอนยายงานไปอยูกับสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร ทําใหไดตนแบบอุปกรณที่เหมาะสมกับการใชงานในประเทศไทย ทั้งเรื่องหัววัด การเชื่อมตอ และการสื่อสาร และเมื่อทําไปทดสอบใชงานเพื่อเสริมการทํางานในระบบโทรมาตรที่หนวยงานมีใช้อยู เชน กรมชลประทานจึงเรียกอุปกรณนี้วา ระบบโทรมาตรเคลื่อนที่ขนาดเล็ก เนื่องจากสามารถสงขอมูลระยะไกล มีขนาดเล็ก ติดตั้งงายเคลื่อนยายสะดวก จึงถือไดวาเปนอุปกรณที่พัฒนาโดยคนไทย ประยุกตใชเทคโนโลยีของตนเองและนํามาใชงานไดอยางเหมาะสมในประเทศ ระบบนี้ทํางานอยางไร
อุปกรณโทรมาตรเคลื่อนที่ขนาดเล็ก มีการทํางานไมซับซอนและเนนใชมาตรฐานในการเชื่อมตอที่เขาใจงายและมีใชอยูทั่วไป โดยจะแบงการทํางานออกเปน 3 สวน ตามลักษณะการทํางานของอุปกรณ คือ
- อุปกรณตรวจวัด ประกอบดวยชุดหัววัดแบบตางๆ โดยใหคาสัญญาณที่วัดไดในรูปแบบมาตรฐาน คือ 0 - 5 V หรือ 4 - 20 mA ซึ่งปจจุบันมีผูผลิตหัววัดแบบตางๆ มากมายหลายชนิด หลากลักษณะการใชงาน โดยระบบโทร มาตรเคลื่อนที่ขนาดเล็ก สามารถติดหัววัดไดทุกชนิด ตามมาตรฐานดังกลาว ปจจุบันที่ใชอยูไดแก ชุดหัววัดอุณหภูมิ ความชื้น ความกดอากาศ ความเขมแสง และระดับน้ำ โดยความละเอียดและความถูกตองขึ้นอยูกับหัววัดของแตละ ผูผลิตที่ผลิตออกมาจําหนาย โดยเลือกหัววัดที่มีราคาเหมาะสม คือ ไมแพงเกินไป และใหคาความถูกตองเพียงพอกับ การใชงานโดยทั่วๆไปหรือในงานที่ตองการความถูกตองสูงขึ้นก็สามารถเปลี่ยนไปใชหัววัดที่มีคุณภาพสูงได้ นอกจากนี้ยังไดพัฒนาชุดตอกับอุปกรณวัดปริมาณฝน ชนิด Tipping Bucket เพื่อใหสามารถนับปริมาณฝน ไดดวย
- อุปกรณควบคุมการทํางาน และสงขอมูล เปนหัวใจหลักของการทํางาน โดยมีไมโครคอนโทลเลอรเปนอุปกรณควบคุมการทํางานทั้งหมด พัฒนาและเขียนโปรแกรมขึ้นใชเอง ทําใหสามารถปรับแตง แกไขระบบไดตามตองการ โดยมีระบบนาฬิกาของเครื่อง บันทึกและสั่งงานตามที่กําหนดไดอีกทั้งยังสงขอมูลในรูปแบบมาตรฐาน RS232 ไปยังอุปกรณสงขอมูลผาน GPRS และยังสามารถบันทึกขอมูลไวใน Flash Memory ของเครื่อง เพื่อผูใชสามารถถอด Memory ไปอานขอมูลภายหลังได ลักษณะการทํางานของชุดควบคุม คือ เปนการตั้งคาชวงเวลาที่ตองการวัดขอมูลและสงขอมูลทันทีเมื่อถึงเวลาที่กําหนด ตั้งแต ทุก นาที ทุก 10 นาที ทุกชั่วโมง หรือ ทุกวัน โดยขอมูลที่ไดอยูในรูปของ ขอความ สงขอมูลไปยังเครื่องคอมพิวเตอรมขาย เพื่อประมวลผลและแสดงผลไดทันที โดยมีคาเวลาที่ตรวจวัดกํากับไว้เสมอ ผูใชสามารถนําเครื่องคอมพิวเตอรมาเชื่อมตอกับอุปกรณเพื่อดูคาขอมูลไดโดยตรง โดยไมตองใชโปรแกรมพิเศษและยังสามารถนําขอมูลไปใชงานไดทันที ในรูปของตารางหรือกราฟ จากโปรแกรม Excel อีกดวย
- อุปกรณจายไฟฟา และชุดปองกันอุปกรณ ดวยระบบนี้ใชไฟฟา 12V จึงสามารถประยุกตใชแหลงจายไฟฟารูปแบบตางๆ ไดอยางหลากหลาย เชน ใชหมอแปลงไฟฟาจากไฟฟาบาน 220 V AC เปน 12 V DC หรือใชแบตเตอร์รี่รถยนต ก็ได ในอนาคตจะไดพัฒนาใหระบบใชไฟฟานอยลง เพื่อจะไดนําแผงโซลารเซลขนาดเล็ก มาใชงานได และ เนื่องจากอุปกรณมีขนาดเล็ก จึงบรรจุลงในกลองพลาสติกกันน้ำ และสามารถติดตั้งไวภายนอกอาคาร เพื่อใหงายตอการติดตั้ง หรือจะติดตั้งไวภายในอาคาร เพื่อสะดวกตอการบํารุงรักษาก็ได้
ระบบโทรมาตรเคลื่อนที่ขนาดเล็กนี้จะสงขอมูลผานเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่GPRSไปยังเครื่องคอมพิวเตอรแมขายที่เปดชองทางรอรับขอมูลและตรวจสอบขอมูลกอนที่จะจัดเก็บลงระบบฐานขอมูลเพื่อการใชงานตอไป โดยในระบบแสดงผล สามารถแสดงผลในรูปแบบตางๆ ผานทาง Web site หรือ หนาจอโทรศัพทเคลื่อนที่ ดวย WAP page โดยสามารถเลือกดูขอมูล ตําแหนงที่ตั้ง ชวงเวลาไดตามตองการ ในรูปแบบของขอมูลตัวเลขเชิงสถิติ กราฟ ตาราง สถานะการทํางานของเครื่อง และแสดงผลในรูปแบบของภูมิสารสนเทศ (GIS) ผานอินเทอรเน็ตได้ ขอมูลเชิงเทคนิค
- ควบคุมการทํางานโดย ไมโครคอนโทลเลอร PIC 18F458 และระบบ Real Time Clock พรอมแบตเตอร์รี่
- ใชวงจรแปลงสัญญาณ Analog to Digital 10 bit จํานวน 8 ชอง สามารถขยายเปน Analog to Digital 12 bit และขยายจํานวนชองสัญญาณไดไมจํากัด
- มีชองวงจรนับ เพื่อตอกับชุดวัดปริมาณฝน จํานวน 1 ชอง
- มีชองสัญญาณ สําหรับใสหัววัดอุณหภูมิและความชื้นภายในตัวเครื่อง
- มีชอง Input Output สําหรับควบคุมอุปกรณระดับ TTL 5V จํานวน 8 ชอง และขยายจํานวนชองไดไมจํากัด
- สงขอมูลชนิดขอความทาง RS-232 ชนิด 9 ขา และสามารถตอเขากับเครื่องคอมพิวเตอรไดโดยตรง
- มีอุปกรณบันทึกขอมูลใสใน Flash Memory ชนิด Compact Flash
- สงขอมูลผานเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ GPRS โดยใช GPRS Modem รองรับ SIM ทั้ง AIS และ DTAC สามารถปรับเปลี่ยนเสาสัญญาณ ไดหลายรูปแบบเพื่อการสงสัญญาณที่ไกลขึ้น
- ระบบสามารถรองรับไฟฟาที่ใชงานไดตั้งแต 9 – 30 โวลต กระแสตรง หรือ กระแสสลับ และมีชองไฟฟา 12 V DC 500 mA เพื่อตอใชงาน
เหมาะสมกับงานประเภทใด งานที่ตองการตรวจวัดขอมูล และสงขอมูลอัตโนมัติทันที มีระบบแสดงผลแบบตางๆ และใชงานผาน Web Site โดยความตองการที่เหมาะสม คือ ในพื้นที่ที่มีคนดูแล เพื่อปองกันอุปกรณสูญหาย มีไฟฟา และมีสัญญาณ โทรศัพทเคลื่อนที่ แตหากขาดอยางใดอยางหนึ่งสามารถปรับอุปกรณใชทดแทนได สามารถติดตั้งชุดหัววัดไดตาม ตองการ ทั้งนี้ความถูกตองของขอมูลและประสิทธิภาพการทํางานขึ้นอยูกับคุณภาพของหัววัดที่ใช ติดตั้งที่ไหนแลว และผลเปนอยางไร ตั้งแตป พ.ศ. 2547 ไดเริ่มนําระบบโทรมาตรเคลื่อนที่ขนาดเล็ก ไปติดตั้งและทดสอบการทํางาน ณ โครงการตางๆของกรมชลประทานที่ตองการขอมูลระดับน้ำและปริมาณน้ำฝนชนิดอัตโนมัติและสงขอมูลทันทีทันใด (Automatic & Real-Time) เชน ที่ลุมน้ำเพชรบุรี ลุมน้ำปราณบุรี ลุมน้ำเจาพระยา ลุมน้ำจันทบุรี ลุมน้ำปง เปนตน ซึ่ง โครงการตางๆ นี้ยังไมมีระบบโทรมาตรใชงาน จากการทดสอบติดตั้งและใชงาน ทําใหพบปญหา และเกิดประสบการณ์ในการเรียนรูมากมาย เพื่อนํามาปรับปรุงการทํางานใหดีขึ้น
ตัวอยางหนึ่งที่ประสบผลสําเร็จ เชน การติดตั้งระบบโทรมาตรเคลื่อนที่ขนาดเล็ก เพื่อสงขอมูลปริมาณฝนราย ชั่วโมง ของพื้นที่จังหวัดระยอง เพื่อแกปญหาภัยแลง ปพ.ศ. 2548 จํานวน 13 สถานี โดยใชเวลาติดตั้ง 3 วัน หรือ เฉลี่ย สถานีละ 3 ชั่วโมง และสงขอมูลทันทีที่ติดตั้งเสร็จ ทําใหทราบขอมูลปริมาณฝนที่ตกในพื้นที่ไดอยางรวดเร็ว และมีระบบฐานขอมูลเก็บรวบรวมขอมูลสถิติดังกลาว เรียกดูยอนหลังได อีกทั้งยังสามารถสงขอความแจงเตือนผานระบบขอความ สั้น (SMS) ทางโทรศัพทเคลื่อนที่ไดอีกดวย
การพัฒนาที่ตอเนื่อง ปจจุบัน ระบบโทรมาตรเคลื่อนที่ขนาดเล็ก ยังคงพัฒนารูปแบบการใชงานในตรงกับจุดมุงหมายที่วางไว รวมถึงเริ่มนําเทคโนโลยีใหมๆ มาประยุกตใช เชน การรับสงขอมูล 2 ทาง เพื่อควบคุมอุปกรณปลายทางได และพัฒนา ใหอุปกรณประหยัดพลังงาน เพื่อประยุกตใชแผงโซลารเซลขนาดเล็ก รวมถึงการเพิ่มประสิทธิภาพของชุดหัววัด การ แปลงสัญญาณใหมีความละเอียดมากขึ้น และมีชองตอหัววัดมากขึ้น ทั้งนี้เนนวาระบบโทรมาตรเคลื่อนที่ขนาดเล็ก เปนการวิจัยพัฒนาและผลิตขึ้นใชเองโดยคนไทย เพื่อปรับใชงานดานตางๆ ในประเทศไดอยางเหมาะสม เพื่อใหเจาหนาที่ผูใชงานไดมีขอมูลที่ถูกตอง รวดเร็ว และ สม่ำเสมอ ในการบริหารและจัดการทรัพยากรน้ำของประเทศ
ผังแสดง การเชื่อมตอและการทํางานของอุปกรณในโครงการระบบโทรมาตรเคลื่อนที่ขนาดเล็ก
|