Home เกี่ยวกับโครงการ โครงการพัฒนาระบบโทรมาตรเคลื่อนที่ขนาดเล็ก (กรมชลประทาน)
โครงการพัฒนาระบบโทรมาตรเคลื่อนที่ขนาดเล็ก (กรมชลประทาน)

ในการรวมวิจัยและพัฒนาระหวางกรมชลประทาน และสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร

ที่มาและความสําคัญ

เนื่องจากปญหาน้ำทวม น้ำแลง เปนปญหาหลักของประเทศที่นํามาซึ่งความสูญเสียทางเศรษฐกิจและสังคมเป นประจําทุกป ดังนั้นเพื่อเปนการปองกันและลดความสูญเสียที่อาจจะเกิดขึ้น จึงจําเปนตองมีระบบเพื่อตรวจวัดคาปริมาณฝนและระดับน้ำ ในการเตือนภัยในชวงวิกฤต และบริหารจัดการน้ำในชวงปกติ ซึ่งระบบโทรมาตรที่ใชอยูโดยทั่วไป มักมีขนาดใหญ ใชงบประมาณสูง ทําใหไมสามารถติดตั้งไดครอบคลุมพื้นที่และใชงานไดตามตองการ ทางสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร ภายใตสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีแหงชาติ ไดพัฒนาอุปกรณตรวจวัดระยะไกล (โทรมาตร) ขนาดเล็ก ที่มีราคาถูก เคลื่อนยายไดงาย สําหรับปรับใชแทนหรือเสริมการทํางานของสถานีโทรมาตรขนาดใหญ เพื่อตรวจวัดคาปริมาณฝนและระดับน้ำพรอมทั้ง เชื่อมโยงขอมูลอั ตโนมัติช นิดทันที และแสดงผลในรูปแบบของภูมิศาสตรสารสนเทศ (GIS) บนเครือขายอินเทอรเน็ต ซึ่งจะเปนประโยชนตอเจาหนาที่ในการบริหารจัดการน้ำไดอยางทันเหตุการณ และแจงเตือนตอประชาชนในพื้นที่เสี่ยงตอความเสียหาย จึงเกิดเปนความรวมมือระหวางกรมชลประทานและสถาบันฯ เพื่อพัฒนาระบบโทรมาตรเคลื่อนที่ขนาดเล็ก

วัตถุประสงค์

  1. พัฒนาระบบโทรมาตรเคลื่อนที่ขนาดเล็กเพื่อตรวจวัดปริมาณฝนและระดับน้ำใน พื้นที่และสงขอมูลอัตโนมัติทันทีทันใด (Automatic & Real time) ในพื้นที่เหนือเขื่อน จํานวน 16 ชุดวัด และพื้นที่ลุมน้ำเจาพระยา จํานวน 5 ชุดวัด
  2. เชื่อมโยงขอมูลและแสดงผลในรูปของภูมิศาสตรสารสนเทศ บนเครือขายอินเทอรเน็ต
  3. เชื่อมโยงขอมูลเขากับเครือขายคอมพิวเตอรของกรมชลประทานและสถาบันฯรวมถึงหนวยงานที่เกี่ยวของ

พื้นที่เปาหมาย

ภาคเหนือ 7 ชุด

ลุมน้ำเลย 5 ชุด

ลุมน้ำลําตะคอง 4 ชุด

ลุมน้ำลําพระเพลิง 2 ชุด

ปราจีนบุรี 1 ชุด

สระแกว 3 ชุด

ตราด 1 ชุด

ภาคตะวันตก (กาญจนบุรี, ราชบุรี, เพชรบุรี, ปราณบุรี) 6 ชุด

*ที่ใชงานอยู 22 ชุด แบงเปน 2 กลุมอุปกรณ คือ

กลุมที่ 1 ติดตังประจําที่ ในบริเวณพื้นที่ลุมน้ำเจาพระยา จํานวน 5 ชุดวัด ไดแก สถานี C2 นครสวรรค , สถาน
ทายเขื่อนเจาพระยา , สถานีเขื่อนพระรามหก , สถานีผักไห (แมน้ำนอย) และ สถานีปากแมน้ำลพบุรี

กลุมที่ 2 สามารถเคลื่อนยายได โดยติดตังในชวงแรกที่บริเวณลุมน้ำภาคเหนือ คือบริเวณเหนือเขื่อนกิ่วลมจํานวน 8 ชุดวัด และบริเวณเหนือเขื่อนลําปาว จํานวน 8 ชุดวัด (ระยะเวลาประมาณ 3 เดือน) และชวงหลังยายอุปกรณมาติดตั้งทีบริเวณพื้นที่ภาคตะวันตกและภาคใตตอนบน คือบริเวณเหนือเขื่อนลําพระเพลิง จํานวน 8 ชุดวัด และบริเวณเหนือเขื่อนแกงกระจาน ลุมน้ำเพชรบุรี ปราณบุรี จํานวน 8 ชุดวัด เพชรบุรี (ระยะเวลาประมาณ 3 เดือน)

ป พ.ศ. 2547 เริ่มนําระบบโทรมาตรเคลื่อนที่ขนาดเล็ก ไปติดตั้งและทดสอบการทํางาน ณ โครงการตางๆ ของกรมชลประทาน ที่ตองการขอมูลระดับน้ำ และ ปริมาณน้ำฝน ชนิดอัตโนมัติและสงขอมูลทันทีทันใด (Automatic & Real-Time) เชน ที่ลุมน้ำเพชรบุรี ลุมน้ำปราณบุรี ลุมน้ำเจาพระยา ลุมน้ำจันทบุรี ลุมน้ำปง เปนตน ซึ่งโครงการตางๆนี้ยังไมมีระบบโทรมาตรใชงานจากการทดสอบติดตั้งและใชงาน ทําใหพบปญหาและเกิดประสบการณในการเรียนรูมากมาย เพื่อนํามาปรับปรุงการทํางานใหดีขึ้น

ป พ.ศ. 2548 ดําเนินการติดตั้งระบบโทรมาตรเคลื่อนที่ขนาดเล็ก เพื่อสงขอมูลปริมาณฝนรายชั่วโมง ของพื้นที่จังหวัดระยอง เพื่อแกปญหาภัยแลง ป พ.ศ. 2548 จํานวน 13 สถานี โดยใชเวลาติดตั้ง 3 วัน หรือ เฉลี่ยสถานีละ 3 ชั่วโมง และสงขอมูลทันทีที่ติดตั้งเสร็จ ทําใหทราบขอมูลปริมาณฝนที่ตกในพื้นที่ไดอยางรวดเร็ว และมีระบบ
ฐาน ขอมูลเก็บรวบรวมขอมูลสถิติดังกลาว เรียกดูยอนหลังได้อีกทั้งยังสามารถสงขอความแจงเตือนผานระบบขอความสั้น (SMS) ทางโทรศัพทเคลื่อนที่ไดอีกดวย

อุปกรณ
แบงลักษณะของอุปกรณที่ใชเปน 4 กลุมตามลักษณะการทํางาน

  1. อุปกรณโทรมาตร ชนิดสงขอมูลทันที (PICNIC) เปนชุดที่ทางสถาบันฯ พัฒนาขึ้นโดยใชตนแบบจากประเทศญี่ปุน
  2. อุปกรณเก็บขอมูลสะสมตามเวลา (Data Logger) เปนชุดบันทึกขอมูลจากชุดหัววัด ที่ทางสถาบันฯพัฒนาขึ้น
  3. ชุดหัววัด ปริมาณฝนและระดับน้ำ โดยอุปกรณวัดระดับน้ำเปนชุดที่ทางสถาบันฯ พัฒนาขึ้น และชุดวัดปริมาณฝนเปนชุดอุปกรณมาตรฐานที่สั่งซื้อจากตางประเทศ
  4. อุปกรณสื่อสารเพื่อสงขอมูลผานเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ GPRS หรือรูปแบบที่เหมาะสม ซึ่งเปนชุดททางศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ กําลังพัฒนาขึ้น

ผลที่คาดวาจะไดรับ
ระบบโทรมาตรเคลื่อนที่ขนาดเล็ก ซึ่งสามารถนําไปใชวัดคาปริมาณฝนและระดับน้ำในพื้นที่เสี่ยงภัยและยังไมมี ระบบตรวจวัดประจํา รวมถึงเชื่อมโยงขอมูลและแสดงผลบนระบบภูมิสารสนเทศผานเครือขายอินเท อรเน็ต เพื่อเปนแนวทางการบริหารจัดการเพื่อลดความเสียหายจากอุทกภัย และภัยแลง

แก้ไขล่าสุด ใน วันจันทร์ที่ 21 มีนาคม 2011 เวลา 10:29 น.
 
Home เกี่ยวกับโครงการ โครงการพัฒนาระบบโทรมาตรเคลื่อนที่ขนาดเล็ก (กรมชลประทาน)