บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วมบริเวณจังหวัดปราจีนบุรี สระแก้ว ฉะเชิงเทรา และพื้นที่ใกล้เคียง (กันยายน 2555 )


ภาพถ่ายดาวเทียม GOES-9 โดย มหาวิทยาลัยโคชิ

1/9/2555[11GMT]

2/9/2555[10GMT]

3/9/2555[17GMT]

4/9/2555[14GMT]

5/9/2555[08GMT]

6/9/2555[11GMT]

7/9/2555[11GMT]

8/9/2555[10GMT]

9/9/2555[11GMT]

10/9/2555[10GMT]

11/9/2555[08GMT]

12/9/2555[11GMT]

|13/9/2555[10GMT]

14/9/2555[17GMT]

15/9/2555[17GMT]

16/9/2555[17GMT]

17/9/2555[14GMT]

18/9/2555[11GMT]

19/9/2555[11GMT]

20/9/2555[11GMT]

21/9/2555[04GMT]

22/9/2555[14GMT]

23/9/2555[11GMT]

24/9/2555[17GMT]

25/9/2555[23GMT]

26/9/2555[12GMT]

27/9/2555[10GMT]

28/9/2555[16GMT]

29/9/2555[21GMT]

30/9/2555[03GMT]
หมายเหตุ : เวลาประเทศไทย = เวลา GMT + 7 ชั่วโมง
รายละเอียดเพิ่มเติม : http://www.thaiwater.net/TyphoonTracking/Goes9.php

จากภาพถ่ายดาวเทียม GOES-9 พบว่ามีกลุ่มเมฆปกคลุมพื้นที่ประเทศไทยตลอดทั้งเดือน รวมทั้งภาคตะวันออกที่มีกลุ่มเมฆหนาปกคลุม
ช่วงวันที่ 4-7, 10-24 ก.ย. 55 ส่งผลให้มีฝนตกและน้ำท่วมในหลายพื้นที่ เช่น บริเวณจังหวัดปราจีนบุรี สระแก้ว นครนายก ฉะเชิงเทรา ชลบุรี

ภาพแผนที่อากาศ โดย กรมอุตุนิยมวิทยาิ

1/9/2555[12UTC]

2/9/2555[12UTC]

3/9/2555[06UTC]

4/9/2555[12UTC]

5/9/2555[12UTC]

6/9/2555[06UTC]

7/9/2555[06UTC]

8/9/2555[06UTC]

9/9/2555[12UTC]

10/9/2555[19UTC]

11/9/2555[19UTC]

12/9/2555[19UTC]

|13/9/2555[19UTC]

14/9/2555[19UTC]

15/9/2555[12UTC]

16/9/2555[12UTC]

17/9/2555[12UTC]

18/9/2555[12UTC]

19/9/2555[12UTC]

20/9/2555[12UTC]

21/9/2555[12UTC]

22/9/2555[12UTC]

23/9/2555[12UTC]

24/9/2555[12UTC]

25/9/2555[12UTC]

26/9/2555[12UTC]

27/9/2555[12UTC]

28/9/2555[19UTC]

29/9/2555[19UTC]

30/9/2555[12UTC]

รายละเอียดเพิ่มเติม : http://www.thaiwater.net/TyphoonTracking/prewc1.php

จากภาพแผนที่อากาศกรมอุตุนิยมวิทยา พบว่ามีร่องความกดอากาศต่ำพาดผ่านบริเวณประเทศไทยตลอดเดือนกันยายน โดยช่วงต้นเดือนจนถึงกลางเืดือนร่องมรสุมได้พาดผ่าน
บริเวณภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สลับกับการเลื่อนต่ำลงมาพาดผ่านช่วงตอนกลางของประเทศ บริเวณภาคเหนือตอนล่าง ภาคกลาง และภาคตะวันออก ส่งผลให้พื้่นที่
ดังกล่าวมีฝนตกมาก ต่อมาใ่นช่วงปลายเดือน ร่องมรสุมได้เลื่อนลงมาพาดผ่านบริเวณภาคใต้ตอนบน ส่งผลให้บริเวณตอนบนของประเทศมีฝนลดลง และมีฝนเพิ่มขึ้นในพื้นที่ภาคใต้


แผนที่อากาศระดับความสูง 1.5 ก.ม. โดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร

1/9/2555[07น.]

1/9/2555[19น.]

2/9/2555[07น.]

2/9/2555[19น.]

3/9/2555[07น.]

3/9/2555[19น.]

4/9/2555[07น.]

4/9/2555[19น.]

5/9/2555[07น.]

5/9/2555[19น.]

6/9/2555[07น.]

6/9/2555[19น.]

7/9/2555[07น.]

7/9/2555[19น.]

8/9/2555[07น.]

8/9/2555[19น.]

9/9/2555[07น.]

9/9/2555[19น.]

10/9/2555[07น.]

10/9/2555[19น.]

11/9/2555[07น.]

11/9/2555[19น.]

12/9/2555[07น.]

12/9/2555[19น.]

13/9/2555[07น.]

13/9/2555[19น.]

14/9/2555[07น.]

14/9/2555[19น.]

15/9/2555[07น.]

15/9/2555[19น.]

16/9/2555[07น.]

16/9/2555[19น.]

17/9/2555[07น.]

17/9/2555[19น.]

18/9/2555[07น.]

18/9/2555[19น.]

19/9/2555[07น.]

19/9/2555[19น.]

20/9/2555[07น.]

20/9/2555[19น.]

21/9/2555[07น.]

21/9/2555[19น.]

22/9/2555[07น.]

22/9/2555[19น.]

23/9/2555[07น.]

23/9/2555[19น.]

24/9/2555[07น.]

24/9/2555[19น.]

25/9/2555[07น.]

25/9/2555[19น.]

26/9/2555[07น.]

26/9/2555[19น.]

27/9/2555[07น.]

27/9/2555[19น.]

28/9/2555[07น.]

28/9/2555[19น.]

29/9/2555[07น.]

29/9/2555[19น.]

30/9/2555[07น.]

30/9/2555[19น.]


รายละเอียดเพิ่มเติม : http://live1.hii.or.th/wrf_image/weather_map.php

จากภาพแผนที่อากาศระดับสูง 1.5 ก.ม. เหนือระดับน้ำทะเล พบว่ามีบริเวณความกดอากาศต่ำปกคลุมประเทศไทยตลอดเดือนกันยายน โดยเฉพาะช่วงวันที่ 1-7, 13-16, 22-25 ก.ย. 55 ที่บริเวณความกดอากาศต่ำปกคลุมพื้นที่ประเทศไทยเป็นบริเวณกว้าง ส่งผลให้มีฝนตกในหลายพื้นที่ โดยค่าความกดอากาศต่ำสุดอยู่ที่ประมาณ 844-846 hPa




แผนที่ความเร็วลมที่ระดับความสูง 1.5 ก.ม. โดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร

1/9/2555[07น.]

1/9/2555[19น.]

2/9/2555[07น.]

2/9/2555[19น.]

3/9/2555[07น.]

3/9/2555[19น.]

4/9/2555[07น.]

4/9/2555[19น.]

5/9/2555[07น.]

5/9/2555[19น.]

6/9/2555[07น.]

6/9/2555[19น.]

7/9/2555[07น.]

7/9/2555[19น.]

8/9/2555[07น.]

8/9/2555[19น.]

9/9/2555[07น.]

9/9/2555[19น.]

10/9/2555[07น.]

10/9/2555[19น.]

11/9/2555[07น.]

11/9/2555[19น.]

12/9/2555[07น.]

12/9/2555[19น.]

13/9/2555[07น.]

13/9/2555[19น.]

14/9/2555[07น.]

14/9/2555[19น.]

15/9/2555[07น.]

15/9/2555[19น.]

16/9/2555[07น.]

16/9/2555[19น.]

17/9/2555[07น.]

17/9/2555[19น.]

18/9/2555[07น.]

18/9/2555[19น.]

19/9/2555[07น.]

19/9/2555[19น.]

20/9/2555[07น.]

20/9/2555[19น.]

21/9/2555[07น.]

21/9/2555[19น.]

22/9/2555[07น.]

22/9/2555[19น.]

23/9/2555[07น.]

23/9/2555[19น.]

24/9/2555[07น.]

24/9/2555[19น.]

25/9/2555[07น.]

25/9/2555[19น.]

26/9/2555[07น.]

26/9/2555[19น.]

27/9/2555[07น.]

27/9/2555[19น.]

28/9/2555[07น.]

28/9/2555[19น.]

29/9/2555[07น.]

29/9/2555[19น.]

30/9/2555[07น.]

30/9/2555[19น.]

รายละเอียดเพิ่มเติม : http://live1.hii.or.th/wrf_image/weather_map.php

จากภาพความเร็วลมที่ระดับสูง 1.5 ก.ม. เหนือระดับน้ำทะเล พบว่าช่วงเดือนกันยายน มรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดปกคลุมบริเวณทะเลอันดามัน ประเทศไทย และอ่าวไทยตลอดทั้งเดือน
โดยเฉพาะช่วงวันที่ 4-7, 13-16, 24-29 ก.ย. 55 ที่มรสุมมีกำลังแรงขึ้น โดยความเร็วลมสูงสุดอยู่ที่ประมาณ 60-80 กิโลเมตรต่อชั่วโมง


ภาพเรดาร์ตรวจอากาศ โดย กรมอุตุนิยมวิทยา
เรดาร์สุวรรณภูมิ รัศมี 240 กิโลเมตร

1/9/2555 [11:29GMT]

2/9/2555 [10:29GMT]

3/9/2555 [11:29GMT]

4/9/2555 [09:29GMT]

5/9/2555 [17:29GMT]

6/9/2555 [06:29GMT]

7/9/2555 [05:29GMT]

8/9/2555 [02:29GMT]

9/9/2555 [07:29GMT]

10/9/2555 [08:29GMT]

11/9/2555 [15:29GMT]

12/9/2555 [08:29GMT]

13/9/2555 [12:29GMT]

14/9/2555 [06:29GMT]

15/9/2555 [11:29GMT]

16/9/2555 [14:29GMT]

17/9/2555 [11:29GMT]

18/9/2555 [10:29GMT]

19/9/2555 [06:29GMT]

20/9/2555 [14:29GMT]

21/9/2555 [14:29GMT]

22/9/2555 [11:29GMT]

23/9/2555 [11:29GMT]

24/9/2555 [17:29GMT]

25/9/2555 [10:29GMT]

26/9/2555 [15:29GMT]

27/9/2555 [15:29GMT]

28/9/2555 [02:29GMT]

29/9/2555 [12:29GMT]

30/9/2555 [13:29GMT]

dBz
               
หมายเหตุ : เวลาประเทศไทย = เวลา GMT + 7 ชั่วโมง
ดูรายละเอียดเพิ่มเติม :http://www.thaiwater.net/DATA/REPORT/php/radar/show_svpradar.php

ข้อมูลจากเครือข่ายภาพเรดาร์กรมอุตุนิยมวิทยา เรดาร์สุวรรณภูมิ รัศมี 240 กิโลเมตร เดือนกันยายน 2555 พบว่ามีกลุ่มฝนบริเวณภาคตะวันออกตลอดทั้งเดือน
โดยเฉพาะช่วงวันที่ 5-7, 14-20, 23-24, 26-28 ก.ย. 55 ที่มีกลุ่มฝนค่อนข้างมาก




ภาพเรดาร์ตรวจอากาศ โดย สำนักงานฝนหลวงและการบินเกษตร
เรดาร์สัตหีบ รัศมี 240 กิโลเมตร

31/8/2555 [19:00GMT]

1/9/2555 [16:00GMT]

2/9/2555 [16:00GMT]

3/9/2555 [17:00GMT]

4/9/2555 [20:00GMT]

5/9/2555 [21:00GMT]

6/9/2555 [13:00GMT]

7/9/2555 [11:00GMT]

8/9/2555 [23:00GMT]

9/9/2555 [14:00GMT]

10/9/2555 [15:00GMT]

11/9/2555 [22:00GMT]

12/9/2555 [14:00GMT]

13/9/2555 [20:00GMT]

14/9/2555 [15:00GMT]

15/9/2555 [02:00GMT]

16/9/2555 [22:00GMT]

17/9/2555 [18:00GMT]

18/9/2555 [16:00GMT]

19/9/2555 [05:00GMT]

20/9/2555 [20:00GMT]

21/9/2555 [02:00GMT]

22/9/2555 [17:00GMT]

23/9/2555 [13:00GMT]

24/9/2555 [23:00GMT]

25/9/2555 [01:00GMT]

26/9/2555 [22:00GMT]

27/9/2555 [21:00GMT]

28/9/2555 [08:00GMT]

29/9/2555 [01:00GMT]

dBz
               
หมายเหตุ : เวลาประเทศไทย = เวลา GMT + 7 ชั่วโมง
ดูรายละเอียดเพิ่มเติม :http://www.thaiwater.net/DATA/REPORT/php/radar/show_rm_satradar.php

ข้อมูลจากเครือข่ายภาพเรดาร์สำนักงานฝนหลวง เรดาร์สัตหีบ รัศมี 240 กิโลเมตรเดือนกันยายน 2555 พบว่ามีกลุ่มฝนบริเวณภาคตะวันออกตลอดทั้งเดือน
โดยเฉพาะช่วงวันที่ 4-7, 14-17, 19-21, 23-29 ก.ย. 55 ที่มีกลุ่มฝนค่อนข้างมาก


แผนภาพแสดงปริมาณฝนสะสมรายวัน โดย NASA

1/9/55[00Z]-2/9/55[00Z]

2/9/55[00Z]-3/9/55[00Z]

3/9/55[00Z]-4/9/55[00Z]

4/9/55[00Z]-5/9/55[00Z]

5/9/55[00Z]-6/9/55[00Z]

6/9/55[00Z]-7/9/55[00Z]

7/9/55[00Z]-8/9/55[00Z]

8/9/55[00Z]-9/9/55[00Z]

9/9/55[00Z]-10/9/55[00Z]

10/9/55[00Z]-11/9/55[00Z]

11/9/55[00Z]-12/9/55[00Z]

12/9/55[00Z]-13/9/55[00Z]

13/9/55[00Z]-14/9/55[00Z]

14/9/55[00Z]-15/9/55[00Z]

15/9/55[00Z]-16/9/55[00Z]

16/9/55[00Z]-17/9/55[00Z]

17/9/55[00Z]-18/9/55[00Z]

18/9/55[00Z]-19/9/55[00Z]

19/9/55[00Z]-20/9/55[00Z]

20/9/55[00Z]-21/9/55[00Z]

21/9/55[00Z]-22/9/55[00Z]

22/9/55[00Z]-23/9/55[00Z]

23/9/55[00Z]-24/9/55[00Z]

24/9/55[00Z]-25/9/55[00Z]

25/9/55[00Z]-26/9/55[00Z]

26/9/55[00Z]-27/9/55[00Z]

27/9/55[00Z]-28/9/55[00Z]

28/9/55[00Z]-29/9/55[00Z]

29/9/55[00Z]-30/9/55[00Z]

30/9/55[00Z]-1/10/55[00Z]
mm.

รายละเอียดเพิ่มเติม : http://disc2.nascom.nasa.gov/Giovanni/tovas/realtime.3B42RT.2.shtml

จากแผนภาพแสดงปริมาณฝนสะสมรายวันของ NASA พบว่าช่วงเดือนกันยายนมีกลุ่มฝนกระจุกตัวกันบริเวณภาคตะวันออกอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งเดือน โดยเฉพาะ
ช่วงวันที่ 5-6, 14-17,20-24, 27-28 ก.ย. 55 ที่มีกลุ่มฝนกระจุกตัวกันมาก



ปริมาณฝนสะสมเดือนกันยายนสังเคราะห์จากข้อมูลปริมาณฝนสะสมรายวันสถานีตรวจอากาศกรมอุตุนิยมวิทยา
โดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร


ฝนเฉลี่ยปี 2493-2540
ปี 2548

ปี 2549

ปี 2550

ปี 2551

ปี 2552

ปี 2553

ปี 2554

ปี 2555


จากแผนภาพแสดงปริมาณฝนสะสมเดือนกันยายน พบว่าปี 2555 บริเวณภาคตะวันออกมีฝนตกค่อนข้างมาก ปริมาณฝนสะสม 469.7 มิลลิเมตร มากกว่าปี 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 และมากกว่าค่าเฉลี่ย 48 ปี
รายละเอียดแสดงดังกราฟ




ปริมาณฝนสะสมรายวันจากสถานีตรวจอากาศ
โดย กรมอุตุนิยมวิทยา

         รายงานข้อมูลปริมาณฝนสะสมรายวันจากสถานีตรวจอากาศกรมอุตุนิยมวิทยาช่วงเดือนกันยายน 2555
บริเวณภาคตะวันออก พบว่าสถานีที่มีฝนตกเกิน 50 มิลลิเมตรต่อวัน
แสดงดังตารางด้านล่าง

วันที่
สถานี
จังหวัด
ปริมาณฝนสะสมรายวัน(มม.)
30/9/2012
พัทยา ชลบุรี                        63.6
29/9/2012
ระยอง ระยอง                        50.8
28/9/2012
พลิ้ว จันทบุรี                        68.2
กบินทร์บุรี (2) ปราจีนบุรี                        51.2
27/9/2012
คลองใหญ่ ตราด                       142.0
พลิ้ว จันทบุรี                        98.9
ระยอง ระยอง                        65.9
จันทบุรี จันทบุรี                        64.8
24/9/2012
ฉะเชิงเทรา (1) ฉะเชิงเทรา                        80.7
21/9/2012
ห้วยโป่ง (1) ระยอง                        87.2
20/9/2012
ปราจีนบุรี ปราจีนบุรี                       103.1
คลองใหญ่ ตราด                        71.7
18/9/2012
คลองใหญ่ ตราด                        84.9
เกาะสีชัง ชลบุรี                        65.2
ชลบุรี ชลบุรี                        53.9
17/9/2012
คลองใหญ่ ตราด                        90.5
16/9/2012
พลิ้ว จันทบุรี                        70.7
คลองใหญ่ ตราด                        67.2
15/9/2012
คลองใหญ่ ตราด                      118.7
พัทยา ชลบุรี                      106.2
เกาะสีชัง ชลบุรี                        78.0
14/9/2012
อรัญประเทศ ปราจีนบุรี                        92.4
กบินทร์บุรี (2) ปราจีนบุรี                        82.1
พลิ้ว จันทบุรี                        76.7
13/9/2012
คลองใหญ่ ตราด                       122.6
7/9/2012
คลองใหญ่ ตราด                        96.4
6/9/2012
คลองใหญ่ ตราด                       106.2
ระยอง ระยอง                        90.5
ฉะเชิงเทรา (1) ฉะเชิงเทรา                        86.0
พลิ้ว จันทบุรี                        66.8
ปราจีนบุรี ปราจีนบุรี                        58.6
ห้วยโป่ง (1) ระยอง                        52.2
5/9/2012
อรัญประเทศ ปราจีนบุรี                        93.0
คลองใหญ่ ตราด                        70.1
ฉะเชิงเทรา (1) ฉะเชิงเทรา                        53.0

หมายเหตุ : รายงานเฉพาะปริมาณฝนสะสมรายวันที่ตรวจวัดได้เกิน 50 มิลลิเมตร
สีแดง หมายถึง ข้อมูลปริมาณฝนสะสมรายวัน ที่เกิน 100 มิลลิเมตร
สีส้ม หมายถึง ข้อมูลปริมาณฝนสะสมรายวัน ระหว่าง 80-99 มิลลิเมตร



ปริมาณฝนสะสมรายวันตรวจวัดจากสถานีโทรมาตรขนาดเล็ก โดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร

            รายงานข้อมูลปริมาณฝนสะสมรายวันตรวจวัดจากสถานีโทรมาตรขนาดเล็กช่วงเดือนกันยายน 2555
พบว่าพื้นที่ภาคตะวันออกที่มีฝนตกเกิน 50 มิลลิเมตรต่อวัน ดังตารางด้านล่าง
วันที่
สถานี
ตำบล
อำเภอ
จังหวัด
ปริมาณฝนสะสมรายวัน(มม.)
2012-09-30 พลูตาหลวง พลูตาหลวง สัตหีบ ชลบุรี
51.0
2012-09-28 บ้านหนองขอน พลิ้ว แหลมสิงห์ จันทบุรี
83.8

วังท่าช้าง วังท่าช้าง กบินทร์บุรี ปราจีนบุรี
81.4

บ้านศรีจุฬา ศรีจุฬา เมืองนครนายก นครนายก
54.8

หาดทับทิม แหลมกลัด เมืองตราด ตราด
53.2

วังรีรีสอร์ท เขาพระ เมืองนครนายก นครนายก
52.0
2012-09-27 เมืองใหม่นายายอาม นายายอาม นายายอาม จันทบุรี
146.0

บ้านหนองขอน พลิ้ว แหลมสิงห์ จันทบุรี
139.2

ตะเคียนทอง ตะเคียนทอง กิ่งอำเภอเขาคิชฌกูฏ จันทบุรี
89.8

หนองคอก คลองตะเกรา ท่าตะเกียบ ฉะเชิงเทรา
61.8

หาดทับทิม แหลมกลัด เมืองตราด ตราด
60.4
2012-09-24 หนองบอน หนองบอน บ่อไร่ ตราด
93.0

ซอยวัดหนองปรือ บึง ศรีราชา ชลบุรี
72.0

ขุนซ่อง ขุนซ่อง แก่งหางแมว จันทบุรี
55.0

เมืองเก่า เมืองเก่า กบินทร์บุรี ปราจีนบุรี
50.2
2012-09-23 หนองแหน หนองแหน พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา
104.0

บางเบ้า เกาะช้างใต้ กิ่งอำเภอเกาะช้าง ตราด
67.8
2012-09-20 บางเบ้า เกาะช้างใต้ กิ่งอำเภอเกาะช้าง ตราด
98.4

น้ำตกปางสีดา หนองตะเคียนบอน วัฒนานคร สระแก้ว
75.2

เขาระกำ คลองใหญ่ แหลมงอบ ตราด
72.6

เมืองใหม่นายายอาม นายายอาม นายายอาม จันทบุรี
67.6

บ้านหนองไร่ หนองไร่ ปลวกแดง ระยอง
65.2

วัดบ้านดง สาริกา เมืองนครนายก นครนายก
58.2

โคคลาน โคคลาน ตาพระยา สระแก้ว
57.4

หาดทับทิม แหลมกลัด เมืองตราด ตราด
55.8

สะพานเขานางบวช ศรีนาวา เมืองนครนายก นครนายก
54.6
2012-09-19 ตะเคียนทอง ตะเคียนทอง กิ่งอำเภอเขาคิชฌกูฏ จันทบุรี
58.6

อู่ทอง บ้านนา แกลง ระยอง
57.6
2012-09-18 หนองบอน หนองบอน บ่อไร่ ตราด
58.6

วังรีรีสอร์ท เขาพระ เมืองนครนายก นครนายก
54.0

อบต.ดงละคร ดงละคร เมืองนครนายก นครนายก
52.8

สะพานโยธกา บางเตย บ้านสร้าง ปราจีนบุรี
51.0
2012-09-17 บางเบ้า เกาะช้างใต้ กิ่งอำเภอเกาะช้าง ตราด
111.2

เมืองใหม่นายายอาม นายายอาม นายายอาม จันทบุรี
71.0

ปัถวี ปัถวี มะขาม จันทบุรี
60.0

น้ำตกปางสีดา หนองตะเคียนบอน วัฒนานคร สระแก้ว
58.2

หนองเสือช่อ ธาตุทอง บ่อทอง ชลบุรี
53.4

เมืองเก่า เมืองเก่า กบินทร์บุรี ปราจีนบุรี
50.2
2012-09-16 บางเบ้า เกาะช้างใต้ กิ่งอำเภอเกาะช้าง ตราด
116.6

เปร็ดใน ห้วงน้ำขาว เมืองตราด ตราด
99.8

บ้านศรีจุฬา ศรีจุฬา เมืองนครนายก นครนายก
98.6

เขาระกำ คลองใหญ่ แหลมงอบ ตราด
91.2

ปัถวี ปัถวี มะขาม จันทบุรี
90.8

บ้านหนองขอน พลิ้ว แหลมสิงห์ จันทบุรี
88.2

หาดทับทิม แหลมกลัด เมืองตราด ตราด
72.2

ดอนกลาง ดอนฉิมพลี บางน้ำเปรี้ยว ฉะเชิงเทรา
71.0

หนองแหน หนองแหน พนมสารคาม ฉะเชิงเทรา
69.8

หนองคอก คลองตะเกรา ท่าตะเกียบ ฉะเชิงเทรา
64.2

หนองเสือช่อ ธาตุทอง บ่อทอง ชลบุรี
57.6

ตะเคียนทอง ตะเคียนทอง กิ่งอำเภอเขาคิชฌกูฏ จันทบุรี
54.8

สะพานเขานางบวช ศรีนาวา เมืองนครนายก นครนายก
54.0
2012-09-15 บางเบ้า เกาะช้างใต้ กิ่งอำเภอเกาะช้าง ตราด
99.8

บ้านด่านชุมพล ด่านชุมพล บ่อไร่ ตราด
80.6

เปร็ดใน ห้วงน้ำขาว เมืองตราด ตราด
78.8

เขาระกำ คลองใหญ่ แหลมงอบ ตราด
78.8

บ้านแหลมค้อ ตะกาง เมืองตราด ตราด
72.8

โคคลาน โคคลาน ตาพระยา สระแก้ว
65.2

พลูตาหลวง พลูตาหลวง สัตหีบ ชลบุรี
54.2

บ้านหนองไร่ หนองไร่ ปลวกแดง ระยอง
53.8
2012-09-14 เมืองใหม่นายายอาม นายายอาม นายายอาม จันทบุรี
112.4

บ้านแหลมค้อ ตะกาง เมืองตราด ตราด
90.4

เมืองเก่า เมืองเก่า กบินทร์บุรี ปราจีนบุรี
81.4

หนองเสือช่อ ธาตุทอง บ่อทอง ชลบุรี
81.0

บ้านหนองขอน พลิ้ว แหลมสิงห์ จันทบุรี
75.0

บ้านด่านชุมพล ด่านชุมพล บ่อไร่ ตราด
71.4

โคกสะแพง ท่าข้าม อรัญประเทศ สระแก้ว
70.6

สตอ สะตอ เขาสมิง ตราด
69.8

บางเบ้า เกาะช้างใต้ กิ่งอำเภอเกาะช้าง ตราด
68.8

วังรีรีสอร์ท เขาพระ เมืองนครนายก นครนายก
62.6

ปัถวี ปัถวี มะขาม จันทบุรี
55.6

น้ำตกปางสีดา หนองตะเคียนบอน วัฒนานคร สระแก้ว
53.2

เขาระกำ คลองใหญ่ แหลมงอบ ตราด
50.4
2012-09-13 หาดทับทิม แหลมกลัด เมืองตราด ตราด
71.0

ดอนกลาง ดอนฉิมพลี บางน้ำเปรี้ยว ฉะเชิงเทรา
52.6
2012-09-12 ตะเคียนทอง ตะเคียนทอง กิ่งอำเภอเขาคิชฌกูฏ จันทบุรี
90.4

บ้านด่านชุมพล ด่านชุมพล บ่อไร่ ตราด
81.8

ปัถวี ปัถวี มะขาม จันทบุรี
57.2

สะพานเขานางบวช ศรีนาวา เมืองนครนายก นครนายก
56.2

เปร็ดใน ห้วงน้ำขาว เมืองตราด ตราด
55.6
2012-09-11 บางเบ้า เกาะช้างใต้ กิ่งอำเภอเกาะช้าง ตราด
72.4
2012-09-07 เปร็ดใน ห้วงน้ำขาว เมืองตราด ตราด
76.8

โป่งน้ำร้อน ทับไทร โป่งน้ำร้อน จันทบุรี
67.8

บ้านแหลมค้อ ตะกาง เมืองตราด ตราด
66.8
2012-09-06 ดอนกลาง ดอนฉิมพลี บางน้ำเปรี้ยว ฉะเชิงเทรา
91.8

หนองสรวง ทุ่งขวาง พนัสนิคม ชลบุรี
72.2

บางเบ้า เกาะช้างใต้ กิ่งอำเภอเกาะช้าง ตราด
63.2

บ้านหนองขอน พลิ้ว แหลมสิงห์ จันทบุรี
60.8

เปร็ดใน ห้วงน้ำขาว เมืองตราด ตราด
56.8

เมืองใหม่นายายอาม นายายอาม นายายอาม จันทบุรี
56.4

เขาระกำ คลองใหญ่ แหลมงอบ ตราด
53.2

วังรีรีสอร์ท เขาพระ เมืองนครนายก นครนายก
50.4
2012-09-05 เทศบาลวังน้ำเย็น วังน้ำเย็น วังน้ำเย็น สระแก้ว
116.8

เมืองใหม่นายายอาม นายายอาม นายายอาม จันทบุรี
63.0

บ้านด่านชุมพล ด่านชุมพล บ่อไร่ ตราด
63.0

ดอนกลาง ดอนฉิมพลี บางน้ำเปรี้ยว ฉะเชิงเทรา
53.6

หนองคอก คลองตะเกรา ท่าตะเกียบ ฉะเชิงเทรา
52.2

เขาหอม โป่งน้ำร้อน โป่งน้ำร้อน จันทบุรี
51.8
2012-09-03 หนองบอน หนองบอน บ่อไร่ ตราด
55.4
2012-09-01 โป่งน้ำร้อน ทับไทร โป่งน้ำร้อน จันทบุรี
56.8

หมายเหตุ : รายงานเฉพาะปริมาณฝนสะสมรายวันที่ตรวจวัดได้เกิน 50 มิลลิเมตร
สีแดง หมายถึง ข้อมูลปริมาณฝนสะสมรายวันที่เกิน 100 มิลลิเมตร
สีส้ม หมายถึง ข้อมูลปริมาณฝนสะสมรายวัน ระหว่าง 80-99 มิลลิเมตร

ปริมาณน้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ โดย กรมชลประทาน

ปริมาณน้ำไหลเข้าอ่างเก็บน้ำคลองสียัด

ปริมาณน้ำกักเก็บอ่างเก็บน้ำคลองสียัด

ปริมาณน้ำไหลเข้าอ่างเก็บน้ำบางพระ

ปริมาณน้ำกักเก็บอ่างเก็บน้ำบางพระ

ปริมาณน้ำไหลเข้่าอ่างเก็บน้ำประแสร์

ปริมาณน้ำกักเก็บอ่างเก็บน้ำประแสร์

ปริมาณน้ำไหลเข้าอ่างเก็บน้ำหนองปลาไหล

ปริมาณน้ำกักเก็บอ่างเก็บน้ำหนองปลาไหล
รายละเอียดเพิ่มเติม : http://www.thaiwater.net/DATA/REPORT/php/rid_bigcm.html

ช่วงเดือนกันยายน มีฝนตกค่อนข้างมากในพื้นที่ภาคตะวันออก ส่งผลให้ปริมาณน้ำไหลลงอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ในพื้นที่ภาคตะวันออกเพิ่มขึ้นค่อนข้างมาก
โดยเฉพาะอ่างเก็บน้ำคลองสียัดและอ่างเก็บน้ำประแสร์ ที่ปริมาณน้ำกักเก็บเกินระดับกักเก็บสูงสุด
                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        หน่วย : ล้านลูกบาศก์เมตร
เขื่อน
ความจุที่
ระดับกักเก็บ
ปริมาณน้ำกักเก็บ
วันที่ 30 ก.ย. 55
ปริมาณน้ำไหลลงอ่าง
สะสมตั้งแต่ต้นปี
ปริมาณน้ำไหลลงอ่างฯ
สะสมเดือนกันยายน
หมายเหตุ
31-ส.ค.-55
30-ก.ย.-55
บางพระ
117
70
18.03
29.86
11.83
หนองปลาไหล
164
109
57.45
104.74
47.29
คลองสียัด
420
374
78.36
316.24
237.88
เริ่มเกินระดับกักเก็บ 18 ต.ค.55
ขุนด่านปราการชล
224
165
196.07
258.03
61.96
ประแสร์
248
277
73.82
250.15
176.33
เริ่มเกินระดับกักเก็บ 26 ก.ย.55


ระดับน้ำจากสถานีตรวจวัดระดับน้ำท่า โดย กรมชลประทาน

(Kgt.1) บ้านในเมือง อ.เมือง จ.ปราจีนบุรี
ระดับน้ำสูงสุด 4.38 ม. วันที่ 2 ต.ค. 55

(Kgt.3) บ้านกบินทร์ อ.กบินทร์บุรี จ.ปราจีนบุรี
ระดับน้ำสูงสุด 11.31 ม. วันที่ 24 ก.ย. 55

(Kgt.12) บ้านแก้ง อ.เมือง จ.สระแก้ว
ระดับน้ำสูงสุด 9.62 ม. วันที่ 20 ก.ย. 55

รายละเอียดเพิ่มเติม : http://www.thaiwater.net/DATA/REPORT/php/show_itcwater.php
         
จากการตรวจวัดระดับน้ำของสถานีตรวจวัดน้ำท่า กรมชลประทาน พบว่ามีระดับน้ำล้นตลิ่งใน 3 สถานี คือ 1. สถานี Kgt.1 บ้านในเมือง อ.เมือง จ.ปราจีนบุรี ระดับน้ำท่วมสูงสุด 4.38 เมตร วันที่ 2 ต.ค. 55 (ระดับตลิ่ง 4.13 เมตร) 2. สถานี Kgt.3 บ้านกบินทร์ อ.กบินทร์บุรี จ.ปราจีนบุรี ระดับน้ำท่วมสูงสุด 11.31 เมตร วันที่ 24 ก.ย. 55 (ระดับตลิ่ง 9.68) 3. สถานี Kgt.12 บ้านแก้ง อ.เมือง จ.สระแก้ว ระดับน้ำท่วมสูงสุด 9.62 เมตร วันที่ 20 ก.ย. 55 (ระดับตลิ่ง 8.57 เมตร)


ระดับน้ำจากระบบโทรมาตรในแม่น้ำปราจีนบุรี โดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร


จากการตรวจวัดระดับน้ำโดยระบบโทรมาตรในแม่น้ำปราจีนบุรี ที่สถานี PRC002 ต.หน้าเมือง อ.เมือง จ.ปราจีนบุรี พบว่าระดับน้ำเริ่มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องตั้งแต่วันที่ 6 ก.ย. 55 และเริ่มล้นตลิ่งในวันที่ 23 ก.ย. 55 จนถึงวันที่ 10 ต.ค. 55 ระดับน้ำจึงเริ่มลดต่ำกว่าตลิ่ง โดยมีระดับน้ำท่วมสูงสุดอยู่ในช่วงวันที่ 1-2 ต.ค. 55 ระดับน้ำประมาณ 5.55 เมตร (ระดับตลิ่ง 5.44 เมตร)


ภาพถ่ายดาวเทียมแสดงพื้นที่น้ำท่วม
โดย สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (GISTDA)

รายงานการติดตามพื้นที่น้าท่วม ปี 2555 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม RADARSAT-2
บันทึกภาพวันที่ 11 กันยายน 2555 เวลา 18.27 น.
บริเวณบางส่วนของจังหวัดกาญจนบุรี กาแพงเพชร ฉะเชิงเทรา ชัยนาท เชียงใหม่ ตาก นครนายก นครปฐม นครสวรรค์ ปราจีนบุรี พระนครศรีอยุธยา พะเยา พิจิตร
พิษณุโลก เพชรบูรณ์ ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี สุโขทัย สุพรรณบุรี อ่างทอง อุตรดิตถ์ อุทัยธานี
อ่านรายงานเพิ่มเติม
รายงานการติดตามพื้นที่น้าท่วม ปี 2555 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม RADARSAT-1
บันทึกภาพวันที่ 13 กันยายน 2555 เวลา 18.16น.
บริเวณบางส่วนของจังหวัดชัยภูมิ ปราจีนบุรี เพชรบูรณ์ สระแก้ว หนองคาย และอุดรธานี
อ่านรายงานเพิ่มเติม

รายงานการติดตามพื้นที่น้าท่วม ปี 2555 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม RADARSAT-2
บันทึกภาพวันที่ 17 กันยายน 2555 เวลา 06.07 น.
บริเวณบางส่วนของจังหวัดกาญจนบุรี ฉะเชิงเทรา ชัยนาท ชัยภูมิ นครนายก นครปฐม นครสวรรค์ นนทบุรี ปทุมธานี ปราจีนบุรี พระนครศรีอยุธยา พะเยา พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ ราชบุรี ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี สุโขทัย สุพรรณบุรี อ่างทอง อุตรดิตถ์ อุทัยธานี
อ่านรายงานเพิ่มเติม

รายงานการติดตามพื้นที่น้าท่วม ปี 2555 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม RADARSAT-1
บันทึกภาพวันที่ 22 กันยายน 2555 เวลา 06.10 น.
บริเวณบางส่วนของจังหวัดฉะเชิงเทรา ชลบุรี ชัยนาท นครนายก นครปฐม
นครสวรรค์ นนทบุรี ปทุมธานี ปราจีนบุรี พระนครศรีอยุธยา พิจิตร พิษณุโลก
เพชรบูรณ์ ลพบุรี สระแก้ว สระบุรีสิงห์บุรี สุโขทัย สุพรรณบุรี อ่างทอง และอุตรดิตถ์
อ่านรายงานเพิ่มเติม
รายงานการติดตามพื้นที่นํ้าท่วม ปี 2555 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม RADARSAT-2
บันทึกภาพวันที่ 25 กันยายน 2555 เวลา 18.18 น.
บริเวณบางส่วนของจังหวัดขอนแก่น ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ชัยภูมิ นครนายก นครราชสีมา ปทุมธานี
ปราจีนบุรี เพชรบูรณ์ สระแก้ว สระบุรี หนองคาย และอุดรธานี
อ่านรายงานเพิ่มเติม
รายงานการติดตามพื้นที่น้้าท่วม ปี 2555 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม RADARSAT-2
บันทึกภาพวันที่ 28 กันยายน 2555 เวลา 18.31 น.
บริเวณบางส่วนของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สุพรรณบุรี ปราจีนบุรี พิจิตร สุโขทัย พิษณุโลก นครสวรรค์ ฉะเชิงเทรา นครปฐม อ่างทอง ชัยนาท นครนายก ลพบุรี สระบุรี ชลบุรี ปทุมธานี สิงห์บุรี อุตรดิตถ์ และนนทบุรี
อ่านรายงานเพิ่มเติม
รายงานการติดตามพื้นที่น้้าท่วม ปี 2555 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม RADARSAT-1
บันทึกภาพวันที่ 30 กันยายน 2555 เวลา 18.19
บริเวณบางส่วนของจังหวัด พระนครศรีอยุธยา สุพรรณบุรี พิจิตร ปราจีนบุรี สุโขทัย นครปฐม นครสวรรค์ พิษณุโลก ฉะเชิงเทรา อ่างทอง นครนายก ชัยนาท ปทุมธานี ลพบุรี สระบุรี ชลบุรี สิงห์บุรี นนทบุรี อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ และสระแก้ว
อ่านรายงานเพิ่มเติม
รายงานการติดตามพื้นที่น้้าท่วม ปี 2555 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม RADARSAT-2
บันทึกภาพวันที่ 4 ตุลาคม 2555 เวลา 06.15
บริเวณบางส่วนของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สุพรรณบุรี ปราจีนบุรี พิจิตร ฉะเชิงเทรา สุโขทัย นครสวรรค์ พิษณุโลก นครปฐม นครนายก ลพบุรี อ่างทอง สิงห์บุรี ชัยนาท ปทุมธานี สระบุรี ชลบุรี อุตรดิตถ์ นนทบุรี ชัยภูมิ เพชรบูรณ์ ขอนแก่น หนองคาย อุดรธานี สระแก้ว นครราชสีมา และอุทัยธานี
อ่านรายงานเพิ่มเติม
รายงานการติดตามพื้นที่น้้าท่วม ปี 2555 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม RADARSAT-2
บันทึกภาพวันที่ 5 ตุลาคม 2555 เวลา 18.26 น.
บริเวณบางส่วนของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สุพรรณบุรี ปราจีนบุรี พิจิตร ฉะเชิงเทรา กรุงเทพมหานคร ฉะเชิงเทรา สุโขทัย นครสวรรค์ พิษณุโลก นครปฐม นครนายก อ่างทอง ปทุมธานี สิงห์บุรี ลพบุรี ชัยนาท สระบุรี ชลบุรี กรุงเทพมหานคร อุตรดิตถ์ นนทบุรี สมุทรปราการ และเพชรบูรณ์
อ่านรายงานเพิ่มเติม
รายงานการติดตามพื้นที่น้้าท่วม ปี 2555 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม RADARSAT-1
บันทึกภาพวันที่ 6 ตุลาคม 2555 เวลา 06.01 น.
บริเวณบางส่วนของจังหวัดปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี นครนายก ชัยภูมิ ขอนแก่น และสระแก้ว
อ่านรายงานเพิ่มเติม

รายงานการติดตามพื้นที่น้้าท่วม ปี 2555 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม RADARSAT-1
บันทึกภาพวันที่ 7 ตุลาคม 2555 เวลา 18.16 น.
บริเวณบางส่วนของจังหวัดปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา นครนายก พิจิตร ชลบุรี เพชรบูรณ์ พิษณุโลก ชัยภูมิ นครราชสีมา ขอนแก่น ปทุมธานี สระบุรี หนองคาย อุดรธานี นครสวรรค์ บุรีรัมย์ สุรินทร์ สระแก้ว กรุงเทพมหานคร และจังหวัดร้อยเอ็ด
อ่านรายงานเพิ่มเติม
รายงานการติดตามพื้นที่น้้าท่วม ปี 2555 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม RADARSAT-1
บันทึกภาพวันที่ 9 ตุลาคม 2555 เวลา 06.12 น.
บริเวณบางส่วนของจังหวัดสุพรรณบุรี พระนครศรีอยุธยา นครปฐม นครสวรรค์ พิจิตร สุโขทัย พิษณุโลก อ่างทอง ลพบุรี สิงห์บุรี ก้าแพงเพชร ชัยนาท สระบุรี ปทุมธานี ฉะเชิงเทรา ราชบุรี นนทบุรี อุตรดิตถ์ นครนายก สมุทรปราการ อุทัยธานี กาญจนบุรี และกรุงเทพมหานคร
อ่านรายงานเพิ่มเติม
รายงานการติดตามพื้นที่น้้าท่วม ปี 2555 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม RADARSAT-2
บันทึกภาพวันที่ 11 ตุลาคม 2555 เวลา 06.08 น.
บริเวณบางส่วนของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา นครปฐม สุพรรณบุรี
นครนายก ลพบุรี อ่างทอง สิงห์บุรี ชลบุรี ปทุมธานี สระบุรี นครสวรรค์ นนทบุรี กรุงเทพมหานคร นครราชสีมา ชัยภูมิ ขอนแก่น สมุทรปราการ อุดรธานี หนองคาย เพชรบูรณ์ สกลนคร บึงกาฬ
บุรีรัมย์ สุรินทร์ และจังหวัดมหาสารคาม
อ่านรายงานเพิ่มเติม
รายงานการติดตามพื้นที่น้้าท่วม ปี 2555 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม RADARSAT-1
บันทึกภาพวันที่ 17 ตุลาคม 2555 เวลา 18.23 น.
บริเวณบางส่วนของจังหวัดสุพรรณบุรี พระนครศรีอยุธยา นครสวรรค์ นครปฐม ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา พิจิตร ลพบุรี พิษณุโลก นครนายก อ่างทอง สิงห์บุรี ปทุมธานี ชัยนาท สระบุรี ชลบุรี นนทบุรีสมุทรปราการ ราชบุรี กรุงเทพมหานคร อุทัยธานี และเพชรบูรณ์
อ่านรายงานเพิ่มเติม



ข้อมูลด้านความเสียหาย โดย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

รายงานเหตุด่วนสถานการณ์ อุทกภัย วาตภัย ดินโคลนถล่ม ประจำวันที่ 30 กันยายน 2555

(ตัดมาเฉพาะรายงานพื้นที่ภาคตะวันออก)

จังหวัดปราจีนบุรี เกิดฝนตกหนักต่อเนื่องทำให้น้ำในแม่น้ำปราจีนบุรีเอ่อล้นเข้าท่วม ตั้งแต่วันที่ 15 ก.ย. 55 ในพื้นที่ 7 อำเภอ 55 ตำบล ปัจจุบัน(30 ก.ย. 55) ยังคงมีน้ำท่วม 5 อำเภอ ได้แก่ อำเภอกบินทร์บุรี ศรีมหาโพธิ เมืองปราจีนบุรี บ้านสร้าง และอำเภอศรีมโหสถ ตลาดเก่ากบินทร์บุรี อำเภอกบินทร์บุรี (จุดวัดบ้านกบินทร์บุรี ระดับตลิ่ง 9.68 ม.) สูงกว่าตลิ่ง 1.22 ม. แนวโน้มเพิ่มขึ้น และโรงเรียนปิด 17 แห่ง อำเภอศรีมหาโพธิ อำเภอบ้านสร้าง ระดับน้ำลดลงเล็กน้อย อำเภอเมืองปราจีนบุรี (จุดวัดบ้านในเมือง ระดับตลิ่ง 4.13 ม.) สูงกว่าตลิ่ง 0.22 ม. แนวโน้มเพิ่มขึ้น จุดอพยพสวน 72 พรรษา (อ.กบินทร์บุรี) มีผู้อพยพ 100 คน เรือนจำกบินทร์บุรีมีการอพยพ นักโทษบางส่วน มีผู้เสียชีวิต 3 ราย (อ.ศรีมหาโพธิ)

จังหวัดสระแก้ว
ฝนตกหนักทำให้เกิดน้ำท่วมฉับพลัน และน้ำป่าไหลหลาก ตั้งแต่วันที่ 18 ก.ย. 2555 ในพื้นที่ 5 อำเภอ 32 ตำบล ได้แก่ อำเภออรัญประเทศ วัฒนานคร ตาพระยา โคกสูง และอำเภอเมืองสระแก้ว ภาพรวมสถานการณ์อุทกภัย ตั้งแต่วันที่ 4 ก.ย. 55 ถึงวันที่ 30 ก.ย. 55 มีพื้นที่ประสบภัย 9 อำเภอ 62 ตำบล 567 หมู่บ้าน 15,848 ครัวเรือน 42,805 คน) มีผู้เสียชีวิต 3 ราย (อ.อรัญประเทศ 1 ราย เขาฉกรรจ์ 2 ราย) ปัจจุบัน (30 ก.ย. 55) สถานการณ์ยังคงมีน้ำท่วมขังพื้นที่ลุ่มต่ำอำเภออรัญประเทศ อำเภอโคกสูง และอำเภอเมืองสระแก้ว ระดับน้ำสูงประมาณ 0.10-0.20 ม. แนวโน้มลดลง (จุดวัด Kgt.12 อ.เมืองสระแก้ว ระดับตลิ่ง 8.57 ม.) ต่ำกว่าตลิ่ง 0.13 ม. แนวโน้มระดับน้ำลดลงอย่างต่อเนื่อง สถานการณ์คลี่คลายแล้วอยู่ระหว่างฟื้นฟู

จังหวัดฉะเชิงเทรา ได้เกิดฝนตกหนักและน้ำเอ่อล้นตลิ่งเข้าท่วม ตั้งแต่วันที่ 16 กันยายน 2555 ในพื้นที่ 6 อำเภอ 26 ตำบล 152 หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน 1,420 ครัวเรือน พื้นที่การเกษตร 5,294 ไร่ บ่อปลา 40 ไร่ ณ วันที่ 30 ก.ย. 55 สถานการณ์ ที่จุดวัดบางขนาก อ.บางน้ำเปรี้ยว ระดับตลิ่ง 2.30 ม. ระดับน้ำสูงกว่าตลิ่ง 0.03 ม.    

ข่าวจากหนังสือพิมพ์

--------------------------------------------------------------------------------------
น้ำจากปราจีนฯ ทะลักเข้าท่วม เขตเศรษฐกิจแปดริ้ว แล้ว [ INN News : 9 ต.ค. 55 ]

             น้ำปราจีนฯ ยังทะลักไหลเข้าแปดริ้วต่อเนื่อง ล่าสุด บุกท่วมถึงตลาดสามแยก พื้นที่ย่านการค้าเศรษฐกิจแล้ว

             วานนี้ (9 ตุลาคม) มวลน้ำจากทางตอนบนเหนือ จ.ฉะเชิงเทรา ที่ไหลลงมารวมกันจาก จ.สระแก้ว จ.ปราจีนบุรี และแม่น้ำนครนายก รวมไปถึงการสูบระบายทิ้งออกมาจากปากคลองหกวาสายล่าง คลองแสนแสบ ตลอดจนลำคลองในระบบของกรมชลประทานอีกหลายสาย ลงมาสู่ลำน้ำบางปะกง ได้ไหลทะลักเข้าท่วมหมู่บ้าน ชุมชน โดยรอบพื้นที่ลุ่มน้ำแล้ว หลังจากถูกใช้เป็นทุ่งรับน้ำทิ้งจากทุกด้าน

            โดย นางสำเนียง สารพันธุ์ อายุ 45 ปี อยู่บ้านเลขที่ 16/5 ม.2 ต.บางกระเจ็ด อ.บางคล้า จ.ฉะเชิงเทรา กล่าวว่า ขณะนี้น้ำจาก จ.ปราจีนบุรี ได้ไหลบ่าเข้ามาท่วมพื้นที่ในหมู่บ้านทั้งหมดเกือบทุกจุดแล้ว ไม่เว้นแม้แต่ในตัวตลาดสามแยก ซึ่งเป็นตลาดเก่าในชุมชน และเป็นพื้นที่สูงกว่าทุกจุดในบริเวณโดยรอบ โดยระดับน้ำมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นต่อเนื่องทุกวัน โดยเฉพาะเวลาฝนตกหนัก และยังไม่มีทีท่าว่าจะลดระดับลง ซึ่งล่าสุด ได้ไหลผ่านข้ามถนนในตัวตลาดเข้าสู่ภายในโรงเรียนวัดสามแยกแล้ว แต่โชคดีที่ทางโรงเรียนได้ทำการปิดภาคเรียนไปก่อนหน้านี้



--------------------------------------------------------------------------------------

น้ำป่าเขตรอยต่อ 5 จังหวัด ตอ.ไหลท่วมหมู่บ้านในเมืองแปดริ้วอีกรอบ [ ผู้จัดการออนไลน์ : 26 ก.ย. 55 ]

ศูนย์ข่าวศรีราชา - น้ำป่าจากเขตรอยต่อ 5 จังหวัดภาคตะวันออก ไหลถล่มเข้าท่วมหมู่บ้านใกล้ทางน้ำไหลเมืองแปดริ้วอีกรอบ และยังได้กลืนชีวิตแม่เฒ่าจมน้ำหายกลางดึก ขณะที่เด็กนักเรียนบ้านนาโพธิ์ ต้องหยุดเรียนยาวอีกรอบหลังถูกน้ำเข้าท่วมอีกครั้ง 
       
        เมื่อเวลา 15.00 น.วันนี้ (26 ก.ย.) ผู้สื่อข่าวได้ลงพื้นที่ตำบลท่ากระดาน อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา เพื่อตรวจสอบเหตุน้ำป่าพัดถล่มหมู่บ้าน หลังได้รับแจ้งจากชาวบ้านว่า ตั้งแต่เมื่อช่วงค่ำของคืนที่ผ่านมา (25 ก.ย.) ได้เกิดน้ำป่าไหลเข้ามาท่วมบ้านเรือนประชาชนในหลายหมู่บ้าน และยังไหลเข้าท่วมโรงเรียนบ้านนาโพธิ์ จุดที่เคยถูกน้ำท่วมจนต้องสั่งปิดการเรียนการสอนไปแล้วเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา
       
        ซึ่งเมื่อไปถึงก็พบว่า ระดับน้ำที่ไหลบ่าในครั้งนี้มีระดับที่สูงกว่าเดิมถึง 1 เมตรเศษ จนทำให้เส้นทางสัญจรเข้าสู่หมู่บ้านหลายสายถูกน้ำท่วมสูง ชาวบ้านถูกตัดขาดจากโลกภายนอก และยังทำให้ชาวบ้านตกใจต้องพากันรีบเก็บข้าวของหนีน้ำไปไว้ยังที่สูง
       
        ขณะเดียวกัน เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นยังทำให้มีผู้เสียชีวิต 1 ราย ทราบชื่อ คือ นางจรูญ โฉมเฉิด อายุ 62 ปี ชาวตำบลท่ากระดาน ที่จมน้ำหายไปตั้งแต่คืนที่ผ่านมา และมีผู้พบศพนอนคว่ำหน้าเสียชีวิตอยู่ที่บริเวณถนนเข้าสู่หน้าบ้าน หลังระดับน้ำลดลงในช่วงเช้า
       
        จากการสอบถามนายโชคทวี แผ่นสุวรรณ ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 4 ตำบลท่ากระดาน เผยว่า ในช่วงเช้าเวลาประมาณ 06.00 น.ได้รับแจ้งว่า มีผู้พบศพลูกบ้านเสียชีวิต จึงแจ้งไปยังเจ้าหน้าที่ตำรวจ สถานีตำรวจภูธรสนามชัยเขต ให้เข้ามาตรวจสอบ ซึ่งในเบื้องต้น เจ้าหน้าที่ระบุว่าจมน้ำเสียชีวิต เนื่องจากเช่วงกลางดึกระดับน้ำอยู่ในระดับเอว
       
        ขณะที่นางลาวิน นนท์เกษม แม่ครัวประจำโรงเรียนบ้านนาโพธิ์ โรงเรียนที่เคยถูกน้ำป่าไหลเข้าท่วมจนต้องปิดการเรียนการสอนมาแล้ว กล่าวว่า น้ำป่าจากบ้านนายาว ซึ่งเป็นพื้นที่ใกล้แนวป่ารอยต่อ 5 จังหวัดภาคตะวันออก (เขาอ่างฤาไน) ได้ไหลผ่านเข้าสู่บ้านท่าแร่ ท่าเลียบ จนมาถึงบ้านนาโพธิ์ จนเอ่อเข้าท่วมภายในบริเวณโรงเรียนอีกรอบ และท่วมสูงกว่าเดิม ซึ่งขณะนี้ระดับน้ำเกือบจะสูงถึงบันไดขั้นสุดท้ายของอาคารเรียนแล้ว ทำให้โรงเรียนต้องสั่งปิดการเรียนอย่างไม่มีกำหนด




--------------------------------------------------------------------------------------

น้ำทะลักท่วมเขตเศรษฐกิจ อ.ศรีมหาโพธิ เต็มพื้นที่แล้ว [ ครอบครัวข่าว 3 : 24 ก.ย. 55 ]

น้ำทะลักเขตเศรษฐกิจ อ.ศรีมหาโพธิ เต็มพื้นที่แล้ว สูง 70 ซม.-1 เมตร ชาวบ้านเร่งเก็บข้าวของ คาดน้ำจะท่วมราว 5-7 วัน

          วันนี้ (24 กันยายน) ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ชาวบ้านในเขตเศรษฐกิจอำเภอศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี ต่างเร่งเก็บข้าวของขนย้ายขึ้นที่สูงหนีน้ำกันจ้าละหวั่น หลังจากมวลน้ำจากอำเภอกบินทร์บุรีได้หลากเข้าท่วมในเขตเศรษฐกิจของอำเภอศรีมหาโพธิเต็มพื้นที่แล้ว โดยคาดว่า น้ำจะท่วมอยู่เช่นนี้ 5-7 วัน

           อย่างไรก็ตาม ก่อนหน้านี้ ชาวบ้านไม่ได้เก็บของขึ้นที่สูงกันมากนัก เนื่องจากคาดการณ์กันว่า ทางเทศบาลน่าจะสามารถป้องกันเขตเศรษฐกิจสำคัญเอาไว้ได้ แต่เนื่องจากน้ำมีปริมาณมาก ทำให้ไหลเข้าท่วมเขตเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว โดยจากการตรวจสอบพบว่า ในเขตเศรษฐกิจมีน้ำท่วมขังสูงประมาณ 70 เซนติเมตร แต่มีบางจุดที่ระดับน้ำสูงถึง 1 เมตร ทำให้ทางเทศบาลตำบลศรีมหาโพธิประกาศห้ามรถทุกชนิดผ่านเข้าออกเด็ดขาด และขอให้เลี่ยงไปใช้เส้นทางอื่นแทน

          ขณะเดียวกัน จากการตรวจสอบเส้นทางก็พบว่า ถนนหลายสายมีน้ำท่วมขัง ทั้ง สาย 3079 โคกขวาง-คลองรั้ง ศูนย์นิคมอุตสาหกรรม 304 บางช่วงมีน้ำท่วมขัง ขณะที่ถนนท้องถิ่น หรือทางหลวงชนบทหลายเส้นทาง อย่างเช่น บ้านเกาะสมอ บ้านดงกระทงยาม มีน้ำท่วมสูง เช่นเดียวกับ ถนนสายท่าตูม-บ้านย่านนางวิ่ง และสายท่าตูม-วัดอรัญญไพรศรี ก็ถูกตัดขาด เพราะมีน้ำท่วมสูงกว่า 1 เมตร


[10.00 น. 24 กันยายน] น้ำกบินทร์บุรีเริ่มลด ไหลท่วม อ.ศรีมหาโพธิ สูงเกือบ 50 ซม.


             สถานการณ์น้ำท่วม อ.กบินทร์บุรี จ.ปราจีนบุรี เริ่มคลี่คลาย หลังน้ำลดลง 10 - 20 เซนติเมตร แต่มวลน้ำกลับไหลเข้าท่วมตัว อ.ศรีมหาโพธิ แทน โดยระดับน้ำสูง 30 - 50 เซนติเมตร ทำให้ไม่สามารถสัญจรไปมาได้

เมื่อวันที่ 23 กันยายน ที่ผ่านมา ผู้สื่อข่าวรายงานสถานการณ์น้ำท่วม จ.ปราจีนบุรี ว่า หลังจากน้ำป่า จ.สระแก้ว ได้ไหลผ่านเข้าแควพระปรง สมทบน้ำป่าจากอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ที่ไหลมาจากแควหนุมานส่งผลให้ระดับน้ำที่ท่วมตลาดเทศบาลตำบลกบินทร์ อ.กบินทร์บุรี จ.ปราจีนบุรี สูงเพิ่มขึ้นประมาณ 1.80 เมตร จนรถยนต์ขนาดเล็กไม่สามารถสัญจรไปมาได้

             นอกจากนี้ น้ำป่ายังได้หลากล้นตลิ่งแม่น้ำปราจีนบุรี ทำให้ถนนสาย 304 (ปราจีนบุรี – ฉะเชิงเทรา) ช่วง กม.91 อ.กบินทร์บุรี จ.ปราจีนบุรี  มีระดับน้ำท่วมสูงกว่า 60 เซนติเมตร จนต้องปิดช่องทางการจราจร 1 ช่อง ให้รถวิ่งสวนทางกันเป็นระยะทางกว่า 4 กิโลเมตร ทำให้ประชาชนใน อ.กบินทร์บุรี 11 ตำบล  และอ.ศรีมหาโพธิ 8 ตำบล  ได้รับความเดือดร้อนกว่า 3,000 กว่ารายนั้น

ล่าสุด ในช่วงเช้าวันนี้ (24 กันยายน) ผู้สื่อข่าวได้เล่าถึงบรรยากาศที่เทศบาล ต.กบินทร์ ว่า ประชาชนยังต้องดำเนินชีวิตตามปกติในวันทำงาน และเปิดการเรียนการสอน โดยพบว่ารถดับเพลิงของเทศบาลตำบลกบินทร์ได้กลายเป็นรถโดยสารชั่วคราว เพื่อคอยรับ-ส่งนักเรียน รวมถึงประชาชน ที่จะต้องเดินทางไปทำงาน จากนั้นนักเรียน และประชาชนที่โดยสารรถดับเพลิง จะต้องต่อรถบัส หรือรถตู้ เพื่อนำส่งในตัวเมือง จ.ปราจีนบุรี

            อย่างไรก็ตาม หลังจาก น.ส.จิตรา พรหมชุติมา ผู้ว่าฯ ปราจีนบุรี ได้เรียกหน่วยงานที่รับผิดชอบเข้าประชุมเพื่อหาทางระบายออกลงสู่ทุ่งนา โดยการเปิดประตูระบายโครงการชลประทานบ้านท่าแห ต.วังดาล อ.กบินทร์บุรี ส่งผลให้ระดับน้ำใน อ.กบินทร์บุรี เริ่มลดลงประมาณ 10 - 20 เซนติเมตร ซึ่งคาดว่าหากใน 2 - 3 วันนี้ ไม่มีฝนตกลงมาอีก สถานการณ์น้ำท่วมในตลาดเทศบาลตำบลกบินทร์น่าจะเข้าสู่สภาวะปกติ แต่ขณะนี้มวลน้ำกลับไหลเข้าท่วมตัวเทศบาลตำบลศรีมหาโพธิ ตลาดท่าประชุม ซึ่งเป็นย่านค้าขายแทน โดยพบว่า มีระดับน้ำสูง 30 - 50 เซนติเมตร จึงทำให้การจราจรถูกตัดขาดโดยสิ้นเชิง

             ด้านศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ (ศภช) รายงานว่า ระดับน้ำแม่น้ำบางปะกง บริเวณ อ.กบินทร์บุรี และ อ.เมือง จ.ปราจีนบุรี ในวันนี้ (24 กันยายน) พบว่า ระดับน้ำยังคงล้นตลิ่งที่ 1.62 เมตร และ 0.18 เมตร ตามลำดับ และมีแนวโน้มทรงตัว ขณะที่ทางจังหวัดเตรียมการรับมือน้ำไหลบ่าเข้าท่วมตัวเมืองเขตเศรษฐกิจ นอกจากนี้ ทางอำเภอยังเร่งระดมเจ้าหน้าที่คอยช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับความเดือดร้อน ซึ่งคาดว่าใช้เวลา 3 - 4 วันในการระบายน้ำออกจากพื้นที่ แต่ต้องขึ้นอยู่กับว่าน้ำทะเลจะหนุนด้วยหรือไม่




--------------------------------------------------------------------------------------

ปราจีนฯ ยังอ่วม! น้ำทะลักท่วมตลาดท่าประชุม 40 ซม. [ INN News : 21 ก.ย. 55 ]


น้ำทะลักเข้าท่วมตลาดท่าประชุม เขตเศรษฐกิจ อ.ศรีมหาโพธิ จ.ปราจีนบุรี สูงกว่า 40 ซม. เจ้าหน้าที่เฝ้าระวังสถานการณ์ริมแม่น้ำปราจีนบุรี ใกล้ชิด
             สถานการณ์น้ำท่วมในพื้นที่จังหวัดปราจีนบุรี ล่าสุด วันนี้ (21 กันยายน) จากการตรวจสอบ พบว่า ปริมาณน้ำฝนที่หนักอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับน้ำจาก อ.กบินทร์บุรี จ.ปราจีนบุรี ไหลเข้ามาสมทบเพิ่มปริมาณมากขึ้น ส่งผลทำให้ภายในตัวตลาดท่าประชุม หรือตลาดเทศบาลตำบลศรีมหาโพธิ มีน้ำท่วมสูงกว่า 40 เซนติเมตร บรรดาร้านค้าภายในตลาด ต่างรีบปิดเพื่อเก็บสินค้าให้พ้นน้ำ เนื่องจากเกรงว่าจะได้รับความเสียหาย โดยเทศบาลเมืองปราจีนบุรี รีบเร่งระบายน้ำออกตลอดทั้งคืน โดยใช้เครื่องสูบน้ำ จำนวน 20 กว่าเครื่อง ขนาดเครื่อง 50 แรงม้า เร่งระบายออกเร็วที่สุด โดยน้ำที่ท่วมระดับน้ำเฉลี่ย 50 เซนติเมตร น้ำไหลเข้าท่วมบ้านเรือนประชาชนหลาย 100 หลังคาเรือน ท่วมบนถนนราษฎรดำริ ถนนหน้าสำนักงานเทศบาลเมืองปราจีนบุรี ขนส่งจังหวัดปราจีนบุรี ชุมชนแก้วพิจิตร หน้าธนาคารกรุงเทพ หน้าธนาคารกรุงไทย ตลาดชายน้ำ หน้าโรงเรียนปราจีนกัลยาณี สี่แยกไฟแดงกลางเมืองปราจีนบุรี
             นอกจากนี้ เทศบาลตำบลศรีมหาโพธิ ได้ส่งเจ้าหน้าที่ออกตรวจวัดระดับน้ำที่เพิ่มสูงขึ้น เพื่อเฝ้าระวังสถานการณ์อย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะแนวคันดินกั้นริมแม่น้ำปราจีนบุรี ข้างวัดใหม่กรงทอง ที่หลายฝ่ายกังวลว่า หากพังลงมาอาจจะทำให้ตลาดท่าประชุม จมน้ำทันที


--------------------------------------------------------------------------------------
ชลบุรีน้ำท่วมถนนขาด-ประกาศ 4 อ.ประสบภัยพิบัติ [ ผู้จัดการออนไลน์ : 18 ก.ย. 55 ]

ศูนย์ข่าวศรีราชา - จังหวัดชลบุรี ประกาศ 4 อำเภอประสบภัยพิบัติ น้ำท่วมถนนขาด สะพานทรุด นาข้าว บ่อปลาเสียหาย หน่วยกู้ภัยชลบุรีร่วมฉะเชิงเทรา นำเรือยนต์เร่งช่วยเหลือผู้ประสบภัย 

       
        วันนี้ (18 ก.ย.) หลังเกิดฝนตกหนักในพื้นที่ อ.พานทอง อ.เกาะจันทร์ และ อ.บ่อทอง ติดต่อกันตั้งแต่วันอาทิตย์ที่ 16 ก.ย.มาจนถึงวันนี้ ส่งผลให้พื้นที่หลายหมู่บ้าน ใน ต.พานทอง อ.พานทอง ต.เกาะจันทร์ อ.เกาะจันทร์ ต.ท่าบุญมี อ.เกาะจันทร์ ต.นาเริก อ.พนัสนิคม และ อ.บ่อทอง ของ จ.ชลบุรี เกิดน้ำหลากเข้าท่วมในพื้นที่ ทำให้จังหวัดชลบุรีประกาศพื้นที่ อ.พานทอง พนัสนิคม บ่อทอง และเกาะจันทร์ เป็นพื้นที่ประสบภัยพิบัติแล้ว
       
        นายกอบชัย บุญอรนะ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดชลบุรี เผยว่า สำรวจเบื้องต้น มีประชาชนเดือดร้อนจากน้ำท่วมฉับพลัน 420 คน 105 ครัวเรือน ถนนถูกน้ำหลากเข้าท่วม 30 สาย คอสะพาน 2 แห่งถูกน้ำกัดเซาะ สำหรับพืชผลทางการเกษตรท่วมนาข้าว บ่อปลาเสียหายไปจำนวนหนึ่ง
       
        ขณะนี้ จังหวัดชลบุรีต้องแก้ไขสถานการณ์โดยด่วน ด้วยการประสานอำเภอ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่เร่งให้ความช่วยเหลือ โดยในเบื้องต้นได้ประสานโครงการชลประทานชลบุรี อ.พานทอง อ.พนัสนิคม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ดำเนินการการติดตั้งเครื่องผลักดันน้ำ และเครื่องสูบน้ำในพื้นที่อ.พนัสนิคม และพานทอง ซึ่งเป็นพื้นที่ปลายน้ำเพื่อเร่งระบายน้ำออกแม่น้ำบางปะกงเป็นการเร่งด่วน
       
        นอกจากนี้ ได้ประสานศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต 17 จันทบุรี ในวันพรุ่งนี้ขอให้การช่วยเหลือสนับสุนนเรือท้องแบน จำนวนกว่า 200 ลำ และเครื่องสูบน้ำสำหรับใช้ช่วยเหลือประชาชนในพื้นที่ อ.พนัสนิคม อ.พานทอง อ.บ่อทอง และ อ.เกาะจันทร์ อย่างเต็มที่



--------------------------------------------------------------------------------------
โรงเกลือท่วมแล้ว! แม่ค้า - นักท่องเที่ยว หนีน้ำชุลมุน [ ครอบครัวข่าว 3 : 17 ก.ย. 55 ]


สระแก้ว อ่วม! ฝนตกหนักต่อเนื่อง ทำให้น้ำไหลเข้าท่วมตลาดโรงเกลือ ด้าน แม่ค้า - นักท่องเที่ยว หนีน้ำกันชุลมุน ขณะที่ จ.ปราจีนบุรี ถนนสายที่จะไป จ.สระแก้ว มีน้ำท่วมบางจุด รถเล็กสัญจรลำบาก

            ช่วงเวลา 18.00 น. ของวานนี้ (17 กันยายน) ผู้สื่อข่าวรายงานว่า มวลน้ำจาก อ.วัฒนานคร ได้ไหลทะลักเข้าท่วมพื้นที่ ต.บ้านด่าน ต.บ้านใหม่หนองไทร อ.อรัญประเทศ จ.สระแก้ว โดยส่งผลกระทบให้ตลาดเศรษฐกิจอย่างโรงเกลือถูกน้ำท่วม บรรดาแม่ค้าชาวกัมพูชา รวมไปถึงนักท่องเที่ยวต่าง ๆ ต้องรีบทยอยออกจากพื้นที่ดังกล่าว ทำให้ทั้งตลาดเกิดเหตุการณ์ชุลมุนวุ่นวายไปหมด

            ทั้งนี้ นักท่องเที่ยวที่มาจับจ่ายซื้อของในตลาดโรงเกลือ ได้เล่าเหตุการณ์ให้ฟังว่า ขณะที่ตนเดินหาซื้อของอยู่ดี ๆ ก็มีน้ำค่อย ๆ ไหลเข้าท่วมตลาด ตนกับเพื่อน ๆ จึงรีบออกมาอยู่ในที่สูง แต่บางคนที่ออกมาไม่ทัน ก็ต้องเดินลุยน้ำหนีออกมาจากตลาด 

            ขณะที่ นายศานิตย์ นาคสุขศรี ผู้ว่าราชการจังหวัดสระแก้ว ได้สั่งการให้นายอำเภอวัฒนานคร และนายอำเภออรัญประเทศ ประกาศแจ้งเตือนแก่กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน เพื่อให้กระจายข่าวไปยังพี่น้องประชาชน และได้สั่งการให้เจ้าหน้าที่เฝ้าระวังตลอด 24 ชั่วโมง 
 อย่างไรก็ตาม ล่าสุด เมื่อเวลา 05.00 น. ของวันนี้ (18 กันยายน) เจ้าหน้าที่รายงานว่า เขตเทศบาลอรัญประเทศ น้ำได้เข้าท่วมทั้งหมดแล้ว ซึ่งระดับน้ำสูงถึงหัวเข่า ส่วนภายในโรงพักน้ำได้ไหลเข้าท่วมสูงประมาณ 20 เซนติเมตร  

            นอกจากนี้ บริเวณ ถ.สายสุวรรณศร บริเวณหลัก กม.ที่ 166-167 บ้านขอนขว้าง อ.เมือง จ.ปราจีนบุรี น้ำท่วมถนนเป็นทางยาวร่วม 100 เมตร ซึ่งสร้างความลำบากให้กับผู้ใช้เส้นทางดังกล่าว เนื่องจากเป็นเส้นทางหลักหนึ่ง โดยเฉพาะเส้นทางที่จะไปจังหวัดสระแก้ว มีรายงานว่า น้ำท่วมเส้นทางหลายช่วง เช่น ถนนสายวัฒนา-คลองหาด ช่วงบริเวณโรงเรียนบ้านพร้าว ระดับน้ำท่วมสูง รถเล็กผ่านลำบาก 




--------------------------------------------------------------------------------------

ข้อมูลอ้างอิง
  • ครอบครัวข่าว 3 http://www.krobkruakao
  • INN News http://www.innnews.co.th
  • ผู้จัดการออนไลน์ http://www.manager.co.th