ตลอดเดือนตุลาคม 2560 ประเทศไทยได้รับอิทธิพลจากร่องมรสุมที่พาดผ่านบริเวณประเทศไทยตลอดทั้งเดือน โดยในช่วงครึ่งเดือนแรก มรสุมได้พาดผ่านบริเวณตอนบนของประเทศ ส่วนในช่วงครึ่งเดือนหลังร่องมรสุมได้เลื่อนลงไปพาดผ่านภาคใต้ อีกทั้งมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามันและภาคใต้มีกําลังปานกลางตั้งแต่ต้นเดือนจนถึงกลางเดือน นอกจากนี้ในช่วงกลางเดือนยังได้รับอิทธิพลจากพายุ depression-02 ซึ่งลักษณะดังกล่าว ส่งผลให้ช่วงต้นเดือนจนถึงกลางเดือน ตอนบนของประเทศไทย ทั้งภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก มีฝนตกหนักถึงหนักมากในหลายพื้นที่ โดยเฉพาะภาคเหนือตอนล่างและภาคกลางตอนบน มีมีกลุ่มฝนตกหนักกระจายตัวเป็นบริเวณกว้าง ส่วนภาคใต้ที่มีกลุ่มฝนตกหนักกระจุกตัวเป็นระยะ ๆ โดยเฉพาะภาคใต้ตอนล่างบริเวณจังหวัดปัตตานี ยะลา นราธิวาส แต่หลังจากช่วงกลางเดือนจนถึงปลายเดือนปริมาณฝนในพื้นที่ตอนบนของประเทศลดลงค่อนข้างมาก แต่ยังคงมีฝนตกกระจุกตัวในบางพื้นที่ ส่วนภาคใต้มีฝนตกกระจุกตัวเป็นระยะ ๆ โดยมีการกระจายตัวของฝนเพิ่มขึ้นในหลายพื้นที่หากเทียบกับช่วงต้นเดือน และจากการตรวจวัดปริมาณฝนสะสมรายวัน พบพื้นที่ที่มีฝนตกหนัก ปริมาณฝนสะสมรายวันเกิน 90 มิลลิเมตร ในหลายจังหวัด ประกอบด้วย จังหวัดน่าน เพชรบูรณ์ พิจิตร สุโขทัย พิษณุโลก แพร่ ลำปาง เชียงใหม่ เชียงราย อุตรดิตถ์ ตาก อุทัยธานี ลพบุรี กรุงเทพมหานคร ราชบุรี กาญจนบุรี นครสวรรค์ ขอนแก่น มหาสารคาม เลย ร้อยเอ็ด สระแก้ว ตราด จันทบุรี นครศรีธรรมราช พังงา สงขลา สุราษฎร์ธานี ซึ่งสถานการณ์ฝนตกหนักดังกล่าว ส่งผลทำให้น้ำในลำน้ำเพิ่มขึ้นจนล้นตลิ่งเข้าท่วมในหลายพื้นที่ รวมทั้งน้ำในเขื่อนต่าง ๆ เพิ่มขึ้นค่อนข้างมาก
              จากรายงานสถานการณ์น้ำในเขื่อนวันที่ 31 ต.ค. 60 โดยกรมชลประทาน มีสถานการณ์น้ำล้นเขื่อนจำนวน 6 แห่ง ได้แก่ เขื่อนกิ่วคอหมา เขื่อนแควน้อย เขื่อนอุบลรัตน์ เขื่อนจุฬาภรณ์ เขื่อนกระเสียว เขื่อนทับเสลา และมีเขื่อนที่มีปริมาณน้ำกักเก็บเกิน 80% ของความจุ ทั้งหมด 16 แห่ง ได้แก่ เขื่อนสิริกิติ์ เขื่อนแม่งัด เขื่อนกิ่วลม เขื่อนลำปาว เขื่อนลำพระเพลิง เขื่อนน้ำอูน เขื่อนสิรินธร เขื่อนห้วยหลวง เขื่อนน้ำพุง เขื่อนป่าสัก เขื่อนศรีนครินทร์ เขื่อนวชิราลงกรณ เขื่อนบางพระ เขื่อนหนองปลาไหล เขื่อนขุนด่าน และเขื่อนประแสร์  โดยเฉพาะเขื่อนอุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น ที่มีปริมาณน้ำกักเก็บค่อนข้างมากมากตั้งแต่ต้นปี โดยปริมาณน้ำเริ่มมากกว่าเกณฑ์บริหารจัดการน้ำตัวบน ตั้งแต่วันที่ 18 พ.ค. 60 หลังจากนั้นปริมาณน้ำได้เพิ่มขึ้นอย่างช้า ๆ มาอย่างต่อเนื่อง จนถึงช่วงต้นเดือนตุลาคมที่เกิดสถานการณ์ฝนฝนตกหนักในพื้นที่รับน้ำเหนือเขื่อน ส่งผลให้มีปริมาณน้ำไหลลงเขื่อนค่อนข้างมาก โดยมีปริมาณน้ำไหลลงสูงสุด 140.88 ล้านลูกบาศก์เมตร ในวันที่ 9 ต.ค. 60 ทำให้ปริมาณน้ำในเขื่อนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว จนเกินระดับกักเก็บปกติในวันที่ 10 ต.ค. 60 หลังจากนั้นแม้ปริมาณน้ำไหลเข้าจะลดลง แต่ก็ยังคงอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างมาก ส่งผลทำให้ปริมาณน้ำกักเก็บยังคงเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ โดยมีปริมาณน้ำกักเก็บสูงสุด 2,969 ล้านลูกบาศก์เมตร ในวันที่ 22 ต.ค. 60 ทำให้มีความจำเป็นต้องทะยอยระบายน้ำออกค่อนข้างมาก สะสมมาอย่างต่อเนื่อง โดยมีอัตราการระบายสูงสุด 54.06 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อวัน ในวันที่ 22 ต.ค. 60 ซึ่งเป็นการระบายผ่าน spillway ถึง 44.12 ล้านลูกบาศก์เมตร ผลจากการระบายน้ำเป็นจำนวนมากอย่างต่อเนื่อง ทำให้พื้นที่ท้ายเขื่อนเกิดสถานการณ์น้ำท่วมเป็นบริเวณกว้าง ครอบคลุมพื้นที่จังหวัดขอนแก่น กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ยโสธร เป็นต้น
               สำหรับลุ่มน้ำเจ้าพระยา จากสถานการณ์ฝนตกหนักในพื้นที่ภาคกลางตอนบน รวมถึงปริมาณน้ำที่ไหลมาสมทบจากภาคเหนือ ส่งผลทำให้บริเวณลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนล่างมีปริมาณน้ำค่อนข้างมาก โดยบริเวณค่ายจิรประวัติ อ.เมือง จ.นครสวรรค์ มีปริมาณน้ำเพิ่มขึ้นมากตั้งแต่ช่วงต้นเดือนตุลาคม 2560 โดยมีปริมาณน้ำไหลผ่านสูงสุด 3,054 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ในวันที่ 23 ต.ค. 60 โดยปริมาณน้ำดังกล่าวได้ไหลลงสู่จังหวัดชัยนาท ส่งผลทำให้เขื่อนเจ้าพระยาต้องเพิ่มการระบายน้ำอย่างต่อเนื่อง โดยมีการระบายน้ำสูงสุด 2,697 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ต่อเนื่องตั้งแต่วันที่ 24-30 ต.ค. 60 ส่งผลให้พื้นที่ลุ่มต่ำบริเวณริมแม่น้ำเจ้าพระยา เกิดสถานการณ์น้ำล้นตลิ่งในหลายจังหวัด เช่น จังหวัดชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี และกรุงเทพมหานคร
               จากรายงานสถานการณ์สาธารณภัยของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ประจำวันที่ 31 ตุลาคม 2560 เวลา 07.00 น. ได้รายงานพื้นที่ประสบภัยจากอิทธิพลของพายุดีเปรสชัน รวมถึงการระบายนํ้าจากเขื่อนเจ้าพระยาและเขื่อนอุบลรัตน์ ในช่วงวันที่ 10 - 30 ต.ค. 60 มีพื้นที่ประสบภัยทั้งสิ้น 23 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ เลย กําแพงเพชร ตาก สุโขทัย พิจิตร นครสวรรค์ อุทัยธานี สิงห์บุรี ลพบุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี ชัยนาท เพชรบูรณ์ สุพรรณบุรี หนองบัวลําภู ขอนแก่น มหาสารคาม กาฬสินธุ์ ร้อยเอ็ด อุบลราชธานี สุราษฎร์ธานี รวม 78 อำเภอ 479 ตำบล 2,820 หมู่บ้าน 42 ชุมชน ประชาชน ได้รับผลกระทบ 125,716 ครัวเรือน 326,072 คน ผู้เสียชีวิต 10 ราย ประกอบด้วย ตาก 2 ราย พิจิตร 2 ราย สิงห์บุรี 1 ราย เลย 1 ราย ลพบุรี 1 ราย สุโขทัย 1 ราย เพชรบูรณ์ 1 ราย สุราษฎร์ธานี 1 ราย  ได้รับการช่วยเหลือแล้วทั้ง 10 ราย ปัจจุบันสถานการณ์คลี่คลายแล้ว 6 จังหวัด ได้แก่ กําแพงเพชร เลย เพชรบูรณ์ สุราษฎร์ธานี เชียงใหม่ ตาก และยังคงมีสถานการณ์ 17 จังหวัด ได้แก่ สุโขทัย พิจิตร นครสวรรค์ อุทัยธานี สิงห์บุรี ลพบุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี ชัยนาท สุพรรณบุรี หนองบัวลําภู ขอนแก่น มหาสารคาม กาฬสินธุ์ ร้อยเอ็ด อุบลราชธานี รวม 57 อำเภอ 390 ตำบล 2,154 หมู่บ้าน 110,627 ครัวเรือน 291,373 คน อพยพ 20 ครัวเรือน


ภาพน้ำท่วมบริเวณจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ภาพน้ำท่วมบริเวณจังหวัดนนทบุรี
ภาพน้ำท่วมบริเวณจังหวัดปทุมธานี









ข้อมูลโดย : กรมอุตุนิยมวิทยา

          พายุ depression-02 ก่อตัวขึ้นบริเวณทะเลจีนใต้ตอนกลางในวันที่ 9 ต.ค. 60 หลังจากนั้นได้เคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ และเคลื่อนขึ้นฝั่งบริเวณตอนกลางของประเทศเวียดนามในวันที่ 10 ต.ค. 60 หลังจากนั้นได้เคลื่อนตัวต่อไปยังตอนบนของประเทศลาว และอ่อนกำลังลงเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำในวันเดียวกัน หลังจากนั้นหย่อมความกดอากาศต่ำดังกล่าวได้เคลื่อนเข้าปกคลุมบริเวณภาคเหนือของประเทศไทย ส่งผลให้พื้นที่ดังกล่าวมีฝนเพิ่มขึ้น  







ข้อมูลโดย : Kochi University

                    ข้อมูลจากภาพถ่ายดาวเทียม Himawari-8 แสดงให้เห็นว่าในช่วงต้นเดือนจนถึงกลางเดือนมีกลุ่มเมฆปกคลุมประเทศไทยค่อนข้างหนาแน่นในหลายพื้นที่ ส่วนในช่วงกลางเดือนจนถึงปลายเดือนบริเวณตอนบนของประเทศทั้งภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก มีกลุ่มเมฆลดลงมาก ส่วนภาคใต้ยังคงมีกลุ่มเมฆปกคลุมหนาแน่น



1/10/60 11GMT

2/10/60 11GMT

3/10/60 11GMT

4/10/60 11GMT

5/10/60 11GMT

6/10/60 11GMT

7/10/60 11GMT

8/10/60 11GMT

9/10/60 11GMT

10/10/60 11GMT

11/10/60 11GMT

12/10/60 11GMT

13/10/60 11GMT

14/10/60 11GMT

15/10/60 11GMT

16/10/60 11GMT

17/10/60 11GMT

18/10/60 11GMT

19/10/60 11GMT

20/10/60 11GMT

21/10/60 11GMT

22/10/60 11GMT

23/10/60 11GMT

24/10/60 11GMT

25/10/60 11GMT

26/10/60 11GMT

27/10/60 11GMT

28/10/60 11GMT

29/10/60 11GMT

30/10/60 11GMT

31/10/60 11GMT

ข้อมูลเพิ่มเติม : http://www.thaiwater.net/TyphoonTracking/Goes9.php









 ข้อมูลโดย : กรมอุตุนิยมวิทยา          


                 ตลอดเดือนตุลาคม 2560 ประเทศไทยได้รับอิทธิพลจากร่องมรสุมที่พาดผ่านบริเวณประเทศไทยตลอดทั้งเดือน โดยในช่วงครึ่งเดือนแรก มรสุมได้พาดผ่านบริเวณตอนบนของประเทศ ส่วนในช่วงครึ่งเดือนหลังร่องมรสุมได้เลื่อนลงไปพาดผ่านภาคใต้ อีกทั้งมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามันและภาคใต้มีกําลังปานกลางตั้งแต่ต้นเดือนจนถึงกลางเดือน ลักษณะดังกล่าว ส่งผลให้ตอนบนของประเทศมีฝนตกหนาแน่นในช่วงต้นเดือนจนถึงกลางเดือนส่วนในช่วงกลางเดือนจนถึงปลายเดือนตอนบนของประเทศฝนลดลง ส่วนภาคใต้มีฝนเพิ่มขึ้น


1/10/60

2/10/60

3/10/60

4/10/60

5/10/60

6/10/60

7/10/60

8/10/60

9/10/60

10/10/60

11/10/60

12/10/60

13/10/60

14/10/60

15/10/60

16/10/60

17/10/60

18/10/60

19/10/60

20/10/60

21/10/60

22/10/60

23/10/60

24/10/60

25/10/60

26/10/60

27/10/60

28/10/60

29/10/60

30/10/60

31/10/60


ข้อมูลเพิ่มเติม : http://www.thaiwater.net/DATA/REPORT/php/hmain.php?page=/TyphoonTracking/show_weather_map.php









 ข้อมูลโดย : สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน)

                    แผนที่แสดงความกดอากาศที่ระดับความสูง 1.5 กิโลเมตรจากระดับน้ำทะเล แสดงให้เห็นว่าในช่วงวันที่ 9-10 ต.ค. 60 พายุดีเปรสชัน 02 ได้เคลื่อนจากทะเลจีนใต้ผ่านประเทศเวียดนาม เข้าสู่ประเทศลาว ก่อนสลายตัวเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำแล้วเคลื่อนเข้าสู่บริเวณภาคเหนือของประเทสไทย (บริเวณสีเหลืองและสีส้ม) ซึ่งส่งผลทำให้ตอนบนของประเทศมีฝนเพิ่มขึ้น และในช่วงวันที่ 19 ต.ค. 60 จนถึงปลายเดือน บริเวณความกดอากาศสูงจากประเทศจีนได้แผ่ลงมาปกคลุมบริเวณประเทศไทย (พื้นที่สีฟ้า สีม่วง) ส่งผลให้ตอนบนของประเทศมีอากาศเย็นลง และปริมาณฝนลดลง ส่วนภาคใต้มีฝนเพิ่มขึ้นเนื่องจากร่องมรสุมได้เลื่อนลงไปพาดผ่านบริเวณดังกล่าง


1/10/60

2/10/60

3/10/60

4/10/60

5/10/60

6/10/60

7/10/60

8/10/60

9/10/60

10/10/60

11/10/60

12/10/60

13/10/60

14/10/60

15/10/60

16/10/60

17/10/60

18/10/60

19/10/60

20/10/60

21/10/60

22/10/60

23/10/60

24/10/60

25/10/60

26/10/60

27/10/60

28/10/60

29/10/60

30/10/60

31/10/60


ข้อมูลเพิ่มเติม : http://live1.hii.or.th/wrf_image/weather_map.php, http://live1.hii.or.th/wrf_image/weather_map_latest.php?img=pressure_upperwind_1500m_low_latest.flv







 ข้อมูลโดย : สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน)

                    ภาพแผนที่แสดงความเร็วลมที่ระดับความสูง 1.5 กิโลเมตร จากระดับน้ำทะเล แสดงให้เห็นว่าช่วงวันที่ 9-10 ต.ค. 60 บริเวณที่เกิดพายุดีเปรสชั่น 02 ลมค่อนข้างแรง ความเร็วลมสูงสุดอยู่ที่ประมาณ 70-80 กิโลเมตรต่อชั่วโมง และในช่วงกลางเดือนพายุไต้ฝุ่นขนุนได้เคลื่อนตัวจากทะเลจีนใต้เข้าสู่อ่าวตังเกี๋ยในช่วงวันที่ 16 ต.ค. 60 ความเร็วลมสูงสุดมากกว่า 150 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
ซึ่งอิทธิพลของพายุลูกนี้ ส่งผลให้ปริมาณฝนในพื้นที่ตอนบนของประเทศไทยเพิ่มขึ้นด้วยเช่นกัน ทั้งนี้ตั้งแต่ช่วงต้นเดือนจนถึงกลางเดือนมีลม มรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ประเทศไทย และอ่าวไทยอย่างต่อเนื่อง จนถึงในช่วงกลางเดือนลักษณะของลมได้เปลี่ยนเป็นลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งพัดลมหนาวลงมาจากประเทศจีน ส่งผลทำให้ตอนบนของประเทศมีฝนลดลง


1/10/60

2/10/60

3/10/60

4/10/60

5/10/60

6/10/60

7/10/60

8/10/60

9/10/60

10/10/60

11/10/60

12/10/60

13/10/60

14/10/60

15/10/60

16/10/60

17/10/60

18/10/60

19/10/60

20/10/60

21/10/60

22/10/60

23/10/60

24/10/60

25/10/60

26/10/60

27/10/60

28/10/60

29/10/60

30/10/60

31/10/60



ข้อมูลเพิ่มเติม : http://live1.hii.or.th/wrf_image/weather_map.php, http://live1.hii.or.th/wrf_image/weather_map_latest.php?img=pressure_upperwind_1500m_low_latest.flv








ข้อมูลโดย : Ocean Weather Inc.

                    แผนภาพแสดงความสูงของคลื่นและทิศทางของคลื่นแสดงให้เห็นว่าตลอดทั้งเดือนตุลาคม 2560 ความสูงของคลื่นบริเวณอ่าวไทย อยู่ที่ประมาณ 1-2 เมตร ตลอดทั้งเดือน โดยในช่วงวันที่ 14-15 ต.ค. 60 ความสูงของคลื่นเพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากอิทธิพลของพายุขนุน หลังจากนั้นความสูงของคลื่นได้ลดต่ำลง และในช่วงวันที่ 30-31 ต.ค. 60 คลื่นได้เพิ่มสูงขึ้นเล็กน้อยอีกครั้งจากอิทธิพลของพายุดีเปรสชันบริเวณปลายแหลมยวน


1/10/60

2/10/60

3/10/60

4/10/60

5/10/60

6/10/60

7/10/60

8/10/60

9/10/60

10/10/60

11/10/60

12/10/60

13/10/60

14/10/60

15/10/60

16/10/60

17/10/60

18/10/60

19/10/60

20/10/60

21/10/60

22/10/60

23/10/60

24/10/60

25/10/60

26/10/60

27/10/60

28/10/60

29/10/60

30/10/60

31/10/60



ข้อมูลเพิ่มเติม : http://www.thaiwater.net/DATA/REPORT/php/show_wave.php?zone=Ind









 ข้อมูลโดย : กรมอุตุนิยมวิทยา กรมฝนหลวงและการบินเกษตร

               เครือข่ายภาพเรดาร์ตรวจวัดปริมาณฝนของกรมอุตุนิยมวิทยาและกรมฝนหลวงและการบินเกษตรในพื้นที่ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ได้แก่ เรดาร์พิษณุโลก เรดาร์สกลนคร เรดาร์ขอนแก่น เรดาร์สัตหีบ ตรวจพบกลุ่มฝนกระจุกตัวบริเวณภาคเหนือ ต่อเนื่องตั้งแต่วันที่ 1-23 ต.ค. 60 ส่วนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีกลุ่มฝนกระจุกตัวต่อเนื่องตั้งแต่วันที่ 1-22 ต.ค. 60 ส่วนภาคตะวันออก ภาคกลางตอนล่าง และภาคใต้ตอน มีกลุ่มฝนกระจุกตัวช่วงวันที่ 1-25 ต.ค. 60 โดยเฉพาะภาคกลางตอนล่างที่มีกลุ่มฝนกระจุกตัวหนาแน่นมากในช่วงต้นเดือน


เรดาร์พิษณุโลก
1/10/60 11:25 GMT
2/10/60 05:25 GMT
3/10/60 08:25 GMT
4/10/60 13:25 GMT
5/10/60 11:25 GMT
6/10/60 17:25 GMT
7/10/60 25:25 GMT
8/10/60 17:25 GMT
9/10/60 09:25 GMT
10/10/60 15:25 GMT
11/10/60 04:25 GMT
12/10/60 09:25 GMT
13/10/60 05:25 GMT
14/10/60 08:25 GMT
15/10/60 11:25 GMT
16/10/60 16:25 GMT
17/10/60 16:25 GMT
18/10/60 11:25 GMT
19/10/60 11:25 GMT
20/10/60 11:25 GMT
21/10/60 17:25 GMT
22/10/60 19:25 GMT
23/10/60 02:25 GMT
24/10/60 08:25 GMT
25/10/60 11:25 GMT
26/10/60 11:25 GMT
27/10/60 07:25 GMT
28/10/60 11:25 GMT
29/10/60 11:25 GMT
30/10/60 11:25 GMT
31/10/60 11:25 GMT

ข้อมูลเพิ่มเติม : http://www.thaiwater.net/DATA/REPORT/php/radar/show_phkradar.php


เรดาร์สกลนคร
1/10/60 18:30 GMT
2/10/60 10:30 GMT
3/10/60 18:30 GMT
4/10/60 12:30 GMT
5/10/60 08:30 GMT
6/10/60 11:30 GMT
7/10/60 10:30 GMT
8/10/60 18:30 GMT
9/10/60 20:30 GMT
10/10/60 03:30 GMT
11/10/60 17:30 GMT
12/10/60 06:30 GMT
13/10/60 05:30 GMT
14/10/60 17:30 GMT
15/10/60 18:30 GMT
16/10/60 11:30 GMT
17/10/60 05:30 GMT
18/10/60 12:30 GMT
19/10/60 18:30 GMT
20/10/60 18:30 GMT
21/10/60 18:30 GMT
22/10/60 18:30 GMT
23/10/60 12:30 GMT
24/10/60 12:30 GMT
25/10/60 12:30 GMT
26/10/60 17:30 GMT
27/10/60 17:30 GMT
28/10/60 17:30 GMT
29/10/60 12:30 GMT
30/10/60 12:30 GMT
31/10/60 22:30 GMT

ข้อมูลเพิ่มเติม : http://www.thaiwater.net/DATA/REPORT/php/radar/show_sknradar.php



เรดาร์ขอนแก่น
1/10/60 20:45 GMT
2/10/60 17:45 GMT
3/10/60 17:45 GMT
4/10/60 11:45 GMT
5/10/60 11:45 GMT
6/10/60 14:45 GMT
7/10/60 05:45 GMT
8/10/60 05:45 GMT
9/10/60 11:45 GMT
10/10/60 17:45 GMT
11/10/60 11:45 GMT
12/10/60 11:45 GMT
13/10/60 09:30 GMT
14/10/60 17:30 GMT
15/10/60 10:45 GMT
16/10/60 17:45 GMT
17/10/60 01:45 GMT
18/10/60 11:45 GMT
19/10/60 16:30 GMT
20/10/60 10:45 GMT
22/10/60 17:45 GMT
23/10/60 03:30 GMT
24/10/60 11:45 GMT
25/10/60 11:45 GMT
26/10/60 11:00 GMT
27/10/60 11:00 GMT
28/10/60 13:30 GMT
29/10/60 11:30 GMT
30/10/60 11:45 GMT
31/10/60 20:30 GMT
       

ข้อมูลเพิ่มเติม : http://www.thaiwater.net/DATA/REPORT/php/radar/show_kkn_radar.php


เรดาร์สัตหีบ
1/10/60 09:54 GMT
2/10/60 11:54 GMT
3/10/60 11:54 GMT
4/10/60 10:06 GMT
5/10/60 11:54 GMT
6/10/60 11:54 GMT
7/10/60 11:59 GMT
8/10/60 11:54 GMT
9/10/60 11:24 GMT
10/10/60 11:42 GMT
11/10/60 11:42 GMT
12/10/60 11:54 GMT
13/10/60 11:53 GMT
14/10/60 07:54 GMT
15/10/60 05:54 GMT
16/10/60 10:54 GMT
17/10/60 10:54 GMT
18/10/60 10:54 GMT
19/10/60 13:54 GMT
20/10/60 02:54 GMT
21/10/60 15:59 GMT
22/10/60 16:06 GMT
23/10/60 11:42 GMT
24/10/60 10:42 GMT
25/10/60 11:59 GMT
26/10/60 09:00 GMT
27/10/60 10:35 GMT
28/10/60 09:36 GMT
29/10/60 14:54 GMT
30/10/60 11:54 GMT
31/10/60 11:06 GMT

ข้อมูลเพิ่มเติม : http://www.thaiwater.net/DATA/REPORT/php/radar/show_rm_satradar.php








 ข้อมูลโดย : คลังข้อมูลน้ำและภูมิอากาศแห่งชาติ

          รายงานข้อมูลปริมาณฝนสะสมรายวันจากคลังข้อมูลน้ำและภูมิอากาศแห่งชาติ ในวันที่ 2 ต.ค. 60 มีฝนตกหนักกระจุกตัวอยู่บริเวณกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวมถึงในบางพื้นที่ของภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือ ต่อมาในช่วงวันที่ 3-6 ต.ค. 60 ปริมาณฝนเพิ่มขึ้นในทุกภาค โดยเฉพาะภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคกลาง ที่มีฝนตกหนักกระจายตัวในหลายพื้นที่ ต่อมาในช่วงวันที่ 7-10 ต.ค. 60 ปริมาณฝนลดลง แต่ยังมีฝนตกหนักในบางพื้นที่ของภาคเหนือและภาคใต้ ต่อมาในช่วงวันที่ 11-18 ต.ค. 60 ปริมาณฝนเพิ่มขึ้นอีกครั้งโดยเฉพาะภาคเหนือและภาคใต้ที่มีฝนตกหนักในหลายพื้นที่ ต่อมาในช่วงวันที่ 19-21 ต.ค. 60 ปริมาณฝนลดลงในทุกภาค และช่วงวันที่ 22-25 ต.ค. 60 มีฝนเพิ่มมากขึ้นอีกครั้ง โดยเฉพาะบริเวณภาคเหนือตอนบน ภาคกลางตอนล่าง และภาคใต้ ต่อมาในช่วงวันที่ 26 ต.ค. 60 จนถึงสิ้นเดือน ปริมาณฝนลดลงในทุกภาค โดยเฉพาะตอนบนของประเทศ ทั้งภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก ที่ปริมาณฝนลดลงค่อนข้างมาก ส่วนภาคใต้มีฝนตกเล็กน้อยถึงปานกลางในบางแห่ง

           สำหรับจังหวัดที่มีฝนตกหนักมาก ปริมาณฝนสะสมเกิน 90 มิลลิเมตรต่อวัน ได้แก่ จังหวัดน่าน เพชรบูรณ์ พิจิตร สุโขทัย พิษณุโลก แพร่ ลำปาง เชียงใหม่ เชียงราย อุตรดิตถ์ ตาก อุทัยธานี ลพบุรี กรุงเทพมหานคร ราชบุรี กาญจนบุรี นครสวรรค์ ขอนแก่น มหาสารคาม เลย ร้อยเอ็ด สระแก้ว ตราด จันทบุรี นครศรีธรรมราช พังงา สงขลา สุราษฎร์ธานี รายละเอียดเพิ่มเติม ดังแผนที่และตารางด้านล่าง



1/10/60

2/10/60

3/10/60

4/10/60

5/10/60

6/10/60

7/10/60

8/10/60

9/10/60

10/10/60

11/10/60

12/10/60

13/10/60

14/10/60

15/10/60

16/10/60

17/10/60

18/10/60

19/10/60

20/10/60

21/10/60

22/10/60

23/10/60

24/10/60

25/10/60

26/10/60

27/10/60

28/10/60

29/10/60

30/10/60

31/10/60




ตารางแสดงปริมาณฝนสะสมรายวันช่วงเดือนตุลาคม 2560
วันที่
ชื่อสถานี
ตำบล
อำเภอ
จังหวัด
 ปริมาณฝน(มม.) 
2017-10-01 บ้านหนองแวง ไทรเดี่ยว คลองหาด สระแก้ว            133.5
2017-10-02 บ้านหนองแวง ไทรเดี่ยว คลองหาด สระแก้ว            137.0
บ้านปางเป๋ย สะเนียน เมือง น่าน            113.5
บ้านห้วยกลาง กระทูน พิปูน นครศรีธรรมราช            112.5
บ้านเขื่อนแก้ว ถืมตอง เมือง น่าน            110.0
บ้านนาคันหัก พระเพลิง เขาฉกรรจ์ สระแก้ว            108.0
บ้านห้วยละเบ้ายา สะเนียน เมือง น่าน            101.5
บ้านบางหลาโอน คึกคัก ตะกั่วป่า พังงา              99.5
บ้านรังเตี้ย นิยมชัย สระโบสถ์ ลพบุรี              94.0
บ้านคลองพร้าว เกาะช้าง เกาะช้าง ตราด              94.0
2017-10-03 บ้านคลองพร้าว เกาะช้าง เกาะช้าง ตราด            126.5
บ้านสะพานนาค คลองศก พนม สุราษฎร์ธานี            125.5
ลานกีฬา อบต.วังโป่ง วังโป่ง วังโป่ง เพชรบูรณ์            114.0
บ้านวังกกแก้ว วังสวาบ ภูผาม่าน ขอนแก่น            109.5
โกสุมพิสัย แห่ใต้ โกสุมพิสัย มหาสารคาม            103.2
บ่อบำบัด ทม.พิจิตร ในเมือง เมืองพิจิตร พิจิตร            102.6
อบต.หนองโสน หนองโสน สามง่าม พิจิตร            100.6
บ้านนาคันหัก พระเพลิง เขาฉกรรจ์ สระแก้ว              99.5
บ้านโนนโก บ้านโตก เมืองเพชรบูรณ์ เพชรบูรณ์              99.0
อบต.วังทรายพูน วังทรายพูน วังทรายพูน พิจิตร              96.4
บ้านตลิ่งชัน ตลิ่งชัน บ้านด่านลานหอย สุโขทัย              95.5
ทต.ลานหอย ลานหอย บ้านด่านลานหอย สุโขทัย              94.4
บ้านห้วยติ้ว ลาดค่าง ภูเรือ เลย              93.0
บ้านน้ำมี น้ำทูน ท่าลี่ เลย              90.0
2017-10-04 บ้านสะพานนาค คลองศก พนม สุราษฎร์ธานี            172.5
บ้านทุ่งนาดี วังยาง เนินมะปราง พิษณุโลก            118.5
บ้านเชิงผา กลางดง ทุ่งเสลี่ยม สุโขทัย            113.0
บ้านแพะดอนมูล สรอย วังชิ้น แพร่            106.5
อบต.หนองหมื่นถ่าน หนองหมื่นถ่าน อาจสามารถ ร้อยเอ็ด              98.8
2017-10-05 บ้านท่าจีน น้ำน้อย หาดใหญ่ สงขลา            154.0
บ้านโป่งน้ำร้อน เสริมกลาง เสริมงาม ลำปาง            125.5
2017-10-06 บ้านเชิงผา กลางดง ทุ่งเสลี่ยม สุโขทัย            129.0
อบต.แม่ปะ แม่ปะ เถิน ลำปาง            106.6
2017-10-10 บ้านวังลุง ทอนหงส์ พรหมคีรี นครศรีธรรมราช              91.5
2017-10-11 บ้านปางยาง บ้านปง หางดง เชียงใหม่            126.5
บ้านทุ่งโป่งใต้ บ้านปง หางดง เชียงใหม่            100.5
2017-10-13 กระทรวงวิทยาศาสตร์ ถนนพญาไท ราชเทวี กรุงเทพมหานคร            129.2
บ้านแหลมหิน หล่อยูง ตะกั่วทุ่ง พังงา            120.5
บ้านตาบาด บ่อพลอย บ่อไร่ ตราด            104.0
บ้านถ้ำหิน สวนผึ้ง สวนผึ้ง ราชบุรี              93.0
ด่านเจดีย์สามองค์ หนองลู สังขละบุรี กาญจนบุรี              91.4
2017-10-14 บ้านคลองพร้าว เกาะช้าง เกาะช้าง ตราด            125.0
บ้านลำภี ลำภี ท้ายเหมือง พังงา              94.5
2017-10-16 บ้านแม่แฮด แม่พุง วังชิ้น แพร่            170.0
บ้านโคนป่าหิน แม่ปาน ลอง แพร่            130.0
อบต.หล่มเก่า หล่มเก่า หล่มเก่า เพชรบูรณ์            118.0
บ้านตะบกเตี้ย ฉมัน มะขาม จันทบุรี            106.5
บ้านห้วยเอียน หล่ายงาว เวียงแก่น เชียงราย            104.5
บ้านโป่ง โป่ง ด่านซ้าย เลย            102.0
บ้านขุนห้วย แม่พุง วังชิ้น แพร่              99.0
บ้านนาต้นจั่น บ้านตึก ศรีสัชนาลัย สุโขทัย              96.5
อบต.ท่าแฝก ท่าแฝก ท่าปลา อุตรดิตถ์              91.8
บ้านโป่งมะค่า ระบำ ลานสัก อุทัยธานี              90.0
บ้านน้ำตอน นาบัว นครไทย พิษณุโลก              90.0
2017-10-17 องค์การบริหารส่วนจังหวัดตาก ระแหง เมืองตาก ตาก            116.8
บ้านหนองยายเงิน หนองจอก บ้านไร่ อุทัยธานี            105.0
ทต.กงไกรลาศ บ้านกร่าง กงไกรลาศ สุโขทัย            103.6
บ้านโป่งมะค่า ระบำ ลานสัก อุทัยธานี              93.5
โรงฆ่าสัตว์ ทม.สวรรคโลก เมืองสวรรคโลก สวรรคโลก สุโขทัย              92.8
ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ ทต.สามเงา สามเงา สามเงา ตาก              90.4
2017-10-19 บ้านคลองสะท้อน วังหมี วังน้ำเขียว นครราชสีมา            126.0
2017-10-21 สนข.พญาไท สามเสนใน พญาไท กรุงเทพมหานคร            111.5
สนข.วัฒนา คลองตันเหนือ วัฒนา กรุงเทพมหานคร            103.0
สถานีวัดน้ำฝนอุทยานเบญจสิริ คลองตัน คลองเตย กรุงเทพมหานคร              94.5
บ้านหน้าเหมือง ควนทอง ขนอม นครศรีธรรมราช              93.0
2017-10-22 บ้านแม่แอบ บ้านแซว เชียงแสน เชียงราย            156.0
บ้านน้ำจันทร์ หนองงิ้ว วังสะพุง เลย            131.0
บ้านน้ำทบ เขาหลวง วังสะพุง เลย            117.0
บ้านหมากแข้ง หนองงิ้ว วังสะพุง เลย            102.5
อบต.เขาทอง เขาทอง พยุหะคีรี นครสวรรค์              91.6
2017-10-23 บ้านลาน ม่อนปิ่น ฝาง เชียงใหม่            137.5
บ้านหัวแม่คำ แม่สลองใน แม่ฟ้าหลวง เชียงราย            116.5
บ้านขุนกลาง บ้านหลวง จอมทอง เชียงใหม่            100.5
บ้านทุ่งยาว แม่สาบ สะเมิง เชียงใหม่              99.0
2017-10-24 สนข.ภาษีเจริญ บางหว้า ภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร            144.0
สถานีวัดระดับน้ำ-น้ำฝน คลองสนามชัย ตอนคลองบางขุนเทียน บางขุนเทียน จอมทอง กรุงเทพมหานคร            105.0
สถานีวัดระดับน้ำ-น้ำฝน คลองภาษีเจริญ ตอนคลองราชมนตรี บางหว้า ภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร            104.5
ทต.ไชยปราการ ปงตำ ไชยปราการ เชียงใหม่            103.0
2017-10-25 สนข.พระนคร วัดสามพระยา พระนคร กรุงเทพมหานคร            140.0
บ้านโป่งน้ำร้อน ดอยฮาง เมืองเชียงราย เชียงราย            132.0
2017-10-26 บ้านแหลมหิน หล่อยูง ตะกั่วทุ่ง พังงา            168.5

หมายเหตุ : รายงานเฉพาะปริมาณฝนสะสมรายวันที่ตรวจวัดได้เกิน 90 มิลลิเมตร (เกณฑ์ฝนตกหนักมาก)


ปริมาณฝนสะสมเดือนตุลาคม 2560
      อิทธิพลของร่องมรสุมที่พาดผ่านประเทศไทยตลอดทั้งเดือน ประกอบกับอิทธิพลของพายุที่ส่งผลกระทบทำให้ปริมาณฝนเพิ่มมากขึ้นในช่วงกลางเดือน ส่งผลทำให้มีฝนตกหนักในหลายพื้นที่ของภาคเหนือ ภาคกลางตอนบน ด้านตะวันตกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รวมถึงในบางพื้นที่ของภาคตะวันออกและภาคใต้ จากการตรวจวัดปริมาณฝนสะสมทั้งเดือนพบปริมาณฝนสะสมสูงสุดที่จังหวัดตราด ปริมาณฝน 603.5 มิลลิเมตร รองลงมาคือที่ สุราษฎร์ธานี และเชียงใหม่ ปริมาณฝน 577 และ 553.5 มิลลิเมตร ตามลำดับ รายละเอียดเพิ่มเติมดังแผนที่และตารางด้านล่าง

แผนภาพแสดงการกระจายตัวของปริมาณฝนสะสมเดือนตุลาคม 2560


ตารางแสดงปริมาณฝนเดือนตุลาคม 2560
สถานี
ตำบล
อำเภอ
จังหวัด
 ปริมาณฝนสะสม(มม.) 
บ้านคลองพร้าว เกาะช้าง เกาะช้าง ตราด                     603.5
บ้านสะพานนาค คลองศก พนม สุราษฎร์ธานี                     577.0
บ้านขุนกลาง บ้านหลวง จอมทอง เชียงใหม่                     553.5
บ้านแหลมหิน หล่อยูง ตะกั่วทุ่ง พังงา                     543.5
บ้านรวงผึ้งพัฒนา คลองน้ำไหล คลองลาน กำแพงเพชร                     509.5
บ้านเชิงผา กลางดง ทุ่งเสลี่ยม สุโขทัย                     507.5
บ้านโป่งมะค่า ระบำ ลานสัก อุทัยธานี                     500.5
สนข.พระนคร วัดสามพระยา พระนคร กรุงเทพมหานคร                     499.0
บ้านหลวง แม่งอน ฝาง เชียงใหม่                     482.0
บ้านทุ่งนาดี วังยาง เนินมะปราง พิษณุโลก                     477.0
บ้านห้วยกลาง กระทูน พิปูน นครศรีธรรมราช                     470.0
บ้านรวมมิตร แม่ยาว เมืองเชียงราย เชียงราย                     456.0
บ้านแพะดอนมูล สรอย วังชิ้น แพร่                     442.5
บ้านลำภี ลำภี ท้ายเหมือง พังงา                     429.5
บ้านบางหลาโอน คึกคัก ตะกั่วป่า พังงา                     427.5
สนข.ภาษีเจริญ บางหว้า ภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร                     424.5
บ้านทุ่งโป่งใต้ บ้านปง หางดง เชียงใหม่                     423.5
กระทรวงวิทยาศาสตร์ ถนนพญาไท ราชเทวี กรุงเทพมหานคร                     420.4
บ้านปางยาง บ้านปง หางดง เชียงใหม่                     416.5
บ้านทุ่งยาว แม่สาบ สะเมิง เชียงใหม่                     411.5
ทม.ระนอง เขานิเวศน์ เมืองระนอง ระนอง                     408.8
บ้านส่องสี ห้วยมุ่น น้ำปาด อุตรดิตถ์                     406.5
ทต.ปากน้ำ ปากน้ำ เมืองระนอง ระนอง                     406.4
บ้านโป่งน้ำร้อน ดอยฮาง เมืองเชียงราย เชียงราย                     405.0
บ้านห้วยตาด โคกงาม ด่านซ้าย เลย                     404.5
บ้านตะบกเตี้ย ฉมัน มะขาม จันทบุรี                     401.5
บ้านป่าแป๋ ป่าแป๋ แม่แตง เชียงใหม่                     399.5
บ้านหินกอง ทุ่งเบญจา ท่าใหม่ จันทบุรี                     398.0
ตลาดภูเรือ หนองบัว ภูเรือ เลย                     397.0
บ้านบุ่ง แก่นมะกรูด บ้านไร่ อุทัยธานี                     391.5
บ้านโรงกลวง นบปริง เมืองพังงา พังงา                     390.0
บ้านนาฟ่อน บ่อหลวง ฮอด เชียงใหม่                     390.0
บ้านลาน ม่อนปิ่น ฝาง เชียงใหม่                     389.5
ด่านเจดีย์สามองค์ หนองลู สังขละบุรี กาญจนบุรี                     383.8
บ้านขุนวาง แม่วิน แม่วาง เชียงใหม่                     383.0
บ้านยางครก ยางเปียง อมก๋อย เชียงใหม่                     379.5
ทต.ไชยปราการ ปงตำ ไชยปราการ เชียงใหม่                     378.6
อบต.พรหมพิราม พรหมพิราม พรหมพิราม พิษณุโลก                     377.0
บ้านหนองหอย แม่แรม แม่ริม เชียงใหม่                     374.5
บ้านวังยาวใหญ่ นาหนองทุ่ม ชุมแพ ขอนแก่น                     373.0
ลานกีฬา อบต.วังโป่ง วังโป่ง วังโป่ง เพชรบูรณ์                     372.6
บ้านหมากแข้ง หนองงิ้ว วังสะพุง เลย                     372.0
สนข.ห้วยขวาง ห้วยขวาง ห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร                     371.0
บ้านเขาแหลม แม่เปิน แม่เปิน นครสวรรค์                     370.5
ที่ทำการหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ ที่ ลป.๒ (น้ำตกลำปี) ท้ายเหมือง ท้ายเหมือง พังงา                     369.5
บ้านเหมาะ (บ้านในหนด) เหมาะ กะปง พังงา                     368.5
บ้านแม่หว่างพัฒนา นาทราย ลี้ ลำพูน                     366.5
บ้านโป่งเจ็ดหัว พุทธบาท ชนแดน เพชรบูรณ์                     364.0
ทต.โพทะเล โพทะเล โพทะเล พิจิตร                     361.8
บ้านแม่กำปอง ห้วยแก้ว แม่ออน เชียงใหม่                     361.5
บ้านเอียด สบเปิง แม่แตง เชียงใหม่                     356.0
ทต.พลิ้ว พลิ้ว แหลมสิงห์ จันทบุรี                     354.8
สนข.บางเขน อนุสาวรีย์ บางเขน กรุงเทพมหานคร                     354.5
บ้านสันติคีรี แม่สลองนอก แม่ฟ้าหลวง เชียงราย                     351.5
สนข.ราชเทวี ทุ่งพญาไท ราชเทวี กรุงเทพมหานคร                     351.0
บ้านตลิ่งชัน ตลิ่งชัน บ้านด่านลานหอย สุโขทัย                     350.5
สนข.พญาไท สามเสนใน พญาไท กรุงเทพมหานคร                     349.5
อบต.บูกิต บูกิต เจาะไอร้อง นราธิวาส                     348.4
สนข.บางกอกน้อย ศิริราช บางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร                     347.5
บ้านป่าขี ห้วยขมิ้น ด่านช้าง สุพรรณบุรี                     344.0
บ้านนาคันหัก พระเพลิง เขาฉกรรจ์ สระแก้ว                     343.0
บ้านหนองยายเงิน หนองจอก บ้านไร่ อุทัยธานี                     342.5
อบต.แม่ปะ แม่ปะ เถิน ลำปาง                     340.2
บ้านนาน้อย ท่าศาลา ภูเรือ เลย                     339.5
บ้านห้วยน้ำใส ราชกรูด เมืองระนอง ระนอง                     337.5
สนข.ยานนาวา ช่องนนทรี ยานนาวา กรุงเทพมหานคร                     337.0
บ้านเพชรนิยม สักงาม คลองลาน กำแพงเพชร                     336.5
บ้านโป่ง โป่ง ด่านซ้าย เลย                     335.5
บ้านคลองสะท้อน วังหมี วังน้ำเขียว นครราชสีมา                     335.5
อบต.เขาทอง เขาทอง พยุหะคีรี นครสวรรค์                     335.0
บ้านหนองแวง ไทรเดี่ยว คลองหาด สระแก้ว                     335.0
บ้านยางแก้ว อมก๋อย อมก๋อย เชียงใหม่                     334.5
บ้านแม่สรวย แม่สรวย แม่สรวย เชียงราย                     333.0
ทต.เวียงพางคำ เวียงพางคำ แม่สาย เชียงราย                     330.6
อบต.ไม้ขาว ไม้ขาว ถลาง ภูเก็ต                     330.0
บ้านหัวตะกร้า บ้านปิน ลอง แพร่                     330.0
บ้านพญาไพรเล่ามา เทอดไทย แม่ฟ้าหลวง เชียงราย                     329.5
บ้านป่ารวก บ่อโพธิ์ นครไทย พิษณุโลก                     329.5
สนข.ดุสิต ลำปลาทิว ลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร                     329.0
บ้านตาบาด บ่อพลอย บ่อไร่ ตราด                     329.0
บ้านน้ำพร้า นางพญา ท่าปลา อุตรดิตถ์                     329.0
อบต.ปากแคว ปากแคว เมืองสุโขทัย สุโขทัย                     328.8
บ้านโป่งน้ำร้อน เสริมกลาง เสริมงาม ลำปาง                     328.0
โป่งชี โป่ง ด่านซ้าย เลย                     327.6
บ้านวังลุง ทอนหงส์ พรหมคีรี นครศรีธรรมราช                     326.0
บ้านถ้ำง๊อบ หนองบัว ไชยปราการ เชียงใหม่                     325.5
บ้านพุตูม ห้วยลึก บ้านลาด เพชรบุรี                     325.0
บ้านแม่โถหลวง บ่อสลี ฮอด เชียงใหม่                     324.5
บ้านผาแล ปอ เวียงแก่น เชียงราย                     324.5
บ้านลิพัง ลิพัง ปะเหลียน ตรัง                     324.0
สนข.วัฒนา คลองตันเหนือ วัฒนา กรุงเทพมหานคร                     323.5
บ้านนาป่าแปก หมอกจำแป่ เมืองแม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน                     323.0
บ้านยาง แม่งอน ฝาง เชียงใหม่                     321.5
ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ ทต.สามเงา สามเงา สามเงา ตาก                     321.4
สนข.บางรัก ทุ่งพญาไท ราชเทวี กรุงเทพมหานคร                     321.0
บ้านนางแลใน (บ้านลิไข่) บ้านดู่ เมืองเชียงราย เชียงราย                     319.5
โรงฆ่าสัตว์ ทม.สวรรคโลก เมืองสวรรคโลก สวรรคโลก สุโขทัย                     319.0
บ้านแม่ก๊ะเปียง สะลวง แม่ริม เชียงใหม่                     319.0
บ้านปางขนุน นาบ่อคำ เมืองกำแพงเพชร กำแพงเพชร                     319.0
เปร็ดใน ห้วงน้ำขาว เมืองตราด ตราด                     318.6
บ้านปางมะกง ปิงโค้ง เชียงดาว เชียงใหม่                     318.5
บ้านวังยาง ศรีฐาน ภูกระดึง เลย                     318.0
บ้านห้วยชมภู ห้วยชมภู เมืองเชียงราย เชียงราย                     317.5
บ้านถ้ำหิน สวนผึ้ง สวนผึ้ง ราชบุรี                     317.5
บ้านบางหวาน กมลา กะทู้ ภูเก็ต                     317.0
อบต.สลกบาตร สลกบาตร ขาณุวรลักษบุรี กำแพงเพชร                     317.0
สนข.บางนา บางนา บางนา กรุงเทพมหานคร                     316.0
สนข.บางกอกใหญ่ วัดท่าพระ บางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร                     313.5
บ้านโป่งช้าง หนองปรือ หนองปรือ กาญจนบุรี                     312.5
บ้านเขานางหงษ์ ปากน้ำ เมืองระนอง ระนอง                     312.0
สนข.จตุจักร จตุจักร จตุจักร กรุงเทพมหานคร                     311.5
ที่ทำการน้ำตกนางรอง หินตั้ง เมืองนครนายก นครนายก                     311.0
สนข.บางแค บางแค บางแค กรุงเทพมหานคร                     310.5
บ้านลานสาง แม่ท้อ เมืองตาก ตาก                     309.5
บ้านหินโหง่น คอกควาย บ้านไร่ อุทัยธานี                     309.5
บ้านหาดส้มแป้น หาดส้มแป้น เมืองระนอง ระนอง                     309.0
ทต.เก้าเลี้ยว เก้าเลี้ยว เก้าเลี้ยว นครสวรรค์                     306.4
บ้านห้วยข้าวลีบ แม่วิน แม่วาง เชียงใหม่                     305.0
บ้านด่านดู่ โป่ง ด่านซ้าย เลย                     304.5
บ้านหัวน้ำพัฒนา แม่มอก เถิน ลำปาง                     303.5
บ้านปางหก ป่าแป๋ แม่แตง เชียงใหม่                     303.0
บ้านควนสามัคคี วิสัยใต้ สวี ชุมพร                     303.0
สนข.คลองสาน คลองสาน คลองสาน กรุงเทพมหานคร                     302.5
สนข.ทุ่งครุ ทุ่งครุ ทุ่งครุ กรุงเทพมหานคร                     302.5
บ้านแม่สูนน้อย แม่สูน ฝาง เชียงใหม่                     301.5
อบต.น้ำหนาว น้ำหนาว น้ำหนาว เพชรบูรณ์                     300.2
บ้านดอยช้าง โป่งน้ำร้อน ฝาง เชียงใหม่                     300.0


หมายเหตุ : รายงานเฉพาะปริมาณฝนสะสมที่ตรวจวัดได้เกิน 300 มิลลิเมตร
ข้อมูลเพิ่มเติม : http://watersituation.thaiwater.net/v1/public/report







 
ข้อมูลโดย : NARVAL, GSMaP


          จากแผนภาพแสดงปริมาณฝนสะสมรายวันจากสถาบันวิจัยทหารเรืออเมริกา (NARVAL) พบว่าช่วงต้นเดือนจนถึงกลางเดือน ตอนบนของประเทศไทย ทั้งภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก มีกลุ่มฝนกระจุกตัวหนาแน่นในหลายพื้นที่ รวมถึงภาคใต้ที่มีกลุ่มฝนกระจุกตัวเป็นระยะ ๆ แต่หลังจากช่วงกลางเดือนจนถึงปลายเดือนปริมาณฝนในพื้นที่ตอนบนของประเทศลดลงค่อนข้างมาก แต่ยังคงมีกลุ่มฝนกระจุกตัวในบางพื้นที่ ส่วนภาคใต้ยังคงมีกลุ่มฝนกระจุกตัวในบางพื้นที่เป็นระยะ ๆ



1/10/60 00z

2/10/60 00z

3/10/60 00z

4/10/60 00z

5/10/60 00z

6/10/60 00z

8/10/60 00z

9/10/60 00z

10/10/60 00z

11/10/60 00z

12/10/60 00z

13/10/60 00z

14/10/60 00z

15/10/60 00z

16/10/60 00z

17/10/60 00z

18/10/60 00z

19/10/60 00z

20/10/60 00z

21/10/60 00z

22/10/60 00z

23/10/60 00z

24/10/60 00z

25/10/60 00z

26/10/60 00z

27/10/60 00z

28/10/60 00z

29/10/60 00z

30/10/60 00z

31/10/60 12z
mm.
ข้อมูลเพิ่มเติม : http://www.thaiwater.net/DATA/REPORT/php/show_ssta.php


         แผนภาพแสดงข้อมูลปริมาณฝนสะสมรายวันจากดาวเทียม GSMaP ที่ผ่านการปรับค่าความเอนเอียงแล้ว แสดงให้เห็นว่า
ช่วงต้นเดือนจนถึงกลางเดือน ตอนบนของประเทศไทย ทั้งภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก มีกลุ่มฝนกระจุกตัวหนาแน่นในหลายพื้นที่ โดยเฉพาะภาคเหนือตอนล่างและภาคกลางตอนบน มีมีกลุ่มฝนตกหนักกระจายตัวเป็นบริเวณกว้าง ส่วนภาคใต้ที่มีกลุ่มฝนตกหนักกระจุกตัวเป็นระยะ ๆ โดยเฉพาะภาคใต้ตอนล่างบริเวณจังหวัดปัตตานี ยะลา นราธิวาส แต่หลังจากช่วงกลางเดือนจนถึงปลายเดือนปริมาณฝนในพื้นที่ตอนบนของประเทศลดลงค่อนข้างมาก แต่ยังคงมีกลุ่มฝนกระจุกตัวในบางพื้นที่ ส่วนภาคใต้มีกลุ่มฝนกระจุกตัวเป็นระยะ ๆ โดยมีการกระจายตัวของฝนเพิ่มขึ้นในหลายพื้นที่


1/10/60

2/10/60

3/10/60

4/10/60

5/10/60

6/10/60

7/10/60

8/10/60

9/10/60

10/10/60

11/10/60

12/10/60

13/10/60

14/10/60

15/10/60

16/10/60

17/10/60

18/10/60

19/10/60

20/10/60

21/10/60

22/10/60

23/10/60

24/10/60

25/10/60

26/10/60

27/10/60

28/10/60

29/10/60

30/10/60

31/10/60









 ข้อมูลโดย : สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน)

         จากรายงานการส่ง SMS เพื่อเตือนภัยปริมาณฝนช่วงเดือนตุลาคม 2560 พบว่ามีการเตือนภัยพายุ ปริมาณฝน และน้ำในเขื่อน บริเวณที่เกิดฝนตกหนัก ทั้งในระดับการเฝ้าระวังสูงสุดและระดับวิกฤต จำนวนทั้งสิ้น 96 ครั้ง โดยมีการเตือนภัยในระดับเฝ้าระวังสูงสุด จำนวน 63 ครั้ง ระดับวิกฤต 33 ครั้ง และหากแบ่งตามประเภทข้อมูล มีการเตือนภัยพายุที่จะส่งผลกระทบต่อประเทศไทย จำนวน 2 ครั้ง เตือนภัยปริมาณน้ำในเขื่อน 25 ครั้ง และเตือนภัยปริมาณฝน 69 ครั้ง รายละเอียดดังกราฟและตารางด้านล่าง


 

วันที่/เวลา
ช่วงเวลาฝนสะสม
ตำบล/สถานี
จังหวัด
ปริมาณฝน(มม.) 
ระดับการเตือนภัย
2/10/2017 3:00 ฝน02-03น. ต.โพทะเล จ.พิจิตร                        46.4
วิกฤต
3/10/2017 9:00 ฝนวานนี้ ตากฟ้า สกษ. จ.นครสวรรค์                        99.6
เฝ้าระวังสูงสุด
3/10/2017 9:00 ฝนวานนี้ ระนอง จ.ระนอง                     104.3
เฝ้าระวังสูงสุด
3/10/2017 9:00 ฝนวานนี้ สุรินทร์ จ.สุรินทร์                        96.5
เฝ้าระวังสูงสุด
3/10/2017 20:00 ฝน07-20น. ต.ในเมือง จ.พิจิตร                        82.6
เฝ้าระวังสูงสุด
3/10/2017 20:00 ฝน07-20น. ต.วังทรายพูน จ.พิจิตร                        81.2
เฝ้าระวังสูงสุด
3/10/2017 20:00 ฝน07-20น. ต.วังโป่ง จ.เพชรบูรณ์                     100.6
เฝ้าระวังสูงสุด
3/10/2017 20:00 ฝน07-20น. ต.หนองโสน จ.พิจิตร                        90.8
เฝ้าระวังสูงสุด
3/10/2017 22:00 ฝน21-22น. ต.เขาทอง จ.นครสวรรค์                        35.0
เฝ้าระวังสูงสุด
3/10/2017 23:00 ฝน07-23น. ต.โตนด จ.สุโขทัย                        87.8
เฝ้าระวังสูงสุด
4/10/2017 0:00 ฝน03/07-04/00น. ต.ในเมือง จ.พิจิตร                     100.8
เฝ้าระวังสูงสุด
4/10/2017 0:00 ฝน03/07-04/00น. ต.วังทรายพูน จ.พิจิตร                        93.8
เฝ้าระวังสูงสุด
4/10/2017 0:00 ฝน03/07-04/00น. ต.วังโป่ง จ.เพชรบูรณ์                     103.2
เฝ้าระวังสูงสุด
4/10/2017 0:00 ฝน03/07-04/00น. ต.หนองโสน จ.พิจิตร                        99.6
เฝ้าระวังสูงสุด
4/10/2017 0:00 ฝน03/07-04/00น. ต.โตนด จ.สุโขทัย                        87.8
เฝ้าระวังสูงสุด
4/10/2017 1:00 ฝน03/07-04/01น. ต.บ้านไร่ จ.พิษณุโลก                        70.8
เฝ้าระวังสูงสุด
4/10/2017 1:00 ฝน03/07-04/01น. ต.ลานหอย จ.สุโขทัย                        88.4
เฝ้าระวังสูงสุด
4/10/2017 4:00 ฝน03/07-04/04น. ต.แห่ใต้ จ.มหาสารคาม                        91.0
เฝ้าระวังสูงสุด
4/10/2017 9:00 ฝนวานนี้ มหาสารคาม (โกสุมพิสัย) จ.มหาสารคาม                     118.8
วิกฤต
4/10/2017 10:00 เขื่อนหนองปลาไหลเพิ่มเป็นวิกฤต93%
วิกฤต
4/10/2017 10:00 เขื่อนกิ่วลมเพิ่มเป็นวิกฤต82%
วิกฤต
5/10/2017 1:00 ฝน04/07-05/01น. ต.หนองหมื่นถ่าน จ.ร้อยเอ็ด                        94.8
เฝ้าระวังสูงสุด
5/10/2017 9:00 ฝนวานนี้ สุโขทัย จ.สุโขทัย                     105.4
เฝ้าระวังสูงสุด
5/10/2017 9:00 ฝนวานนี้ ร้อยเอ็ด สกษ. จ.ร้อยเอ็ด                        99.8
เฝ้าระวังสูงสุด
5/10/2017 9:00 ฝนวานนี้ ศรีสำโรง สกษ. จ.สุโขทัย                        93.3
เฝ้าระวังสูงสุด
5/10/2017 11:00 เขื่อนบางพระเพิ่มเป็นเฝ้าระวังพิเศษ92%
เฝ้าระวังสูงสุด
5/10/2017 16:00 ฝน15-16น. ต.บางไทร จ.พระนครศรีอยุธยา                        36.0
เฝ้าระวังสูงสุด
5/10/2017 19:00 ฝน18-19น. ต.สูงเม่น จ.แพร่                        31.0
เฝ้าระวังสูงสุด
6/10/2017 7:00 ฝน3วัน ต.แห่ใต้ จ.มหาสารคาม                     159.8
เฝ้าระวังสูงสุด
6/10/2017 11:00 เขื่อนประแสร์เพิ่มเป็นวิกฤต92%
วิกฤต
6/10/2017 11:00 เขื่อนกระเสียวเพิ่มเป็นวิกฤต87%
วิกฤต
6/10/2017 11:00 เขื่อนป่าสักฯเพิ่มเป็นวิกฤต82%
วิกฤต
6/10/2017 11:00 เขื่อนห้วยหลวงเพิ่มเป็นเฝ้าระวังพิเศษ89%
เฝ้าระวังสูงสุด
6/10/2017 18:00 ฝน17-18น. ต.บ่อเกลือใต้ จ.น่าน                        27.6
เฝ้าระวังสูงสุด
6/10/2017 18:00 ฝน17-18น. ต.บางใหญ่ จ.ระนอง                        40.0
เฝ้าระวังสูงสุด
7/10/2017 6:00 ฝน06/07-07/06น. ต.แม่ปะ จ.ลำปาง                     106.6
เฝ้าระวังสูงสุด
7/10/2017 7:00 ฝน3วัน ต.แม่ปะ จ.ลำปาง                     189.4
เฝ้าระวังสูงสุด
7/10/2017 11:00 เขื่อนทับเสลาเพิ่มเป็นวิกฤต86%
วิกฤต
7/10/2017 11:00 เขื่อนห้วยหลวงเพิ่มเป็นวิกฤต91%
วิกฤต
8/10/2017 0:00 ฝน23-00น. ต.เชียงกลาง จ.น่าน                        29.4
เฝ้าระวังสูงสุด
8/10/2017 10:00 ฝนวานนี้ เชียงราย สกษ. จ.เชียงราย                        87.2
เฝ้าระวังสูงสุด
8/10/2017 13:00 เขื่อนบางพระเพิ่มเป็นวิกฤต95%
วิกฤต
9/10/2017 2:00 ฝน01-02น. ต.สามเงา จ.ตาก                        33.0
เฝ้าระวังสูงสุด
9/10/2017 12:00 เขื่อนบางพระลดเป็นเฝ้าระวังพิเศษ95%
เฝ้าระวังสูงสุด
10/10/2017 20:00 ฝน19-20น. ต.ลำพูน จ.สุราษฎร์ธานี                        48.6
วิกฤต
10/10/2017 23:00 ฝน22-23น. ต.กงรถ จ.นครราชสีมา                        47.6
วิกฤต
11/10/2017 14:00 ฝน13-14น. ต.ปากตะโก จ.ชุมพร                        37.4
เฝ้าระวังสูงสุด
11/10/2017 14:00 ฝน13-14น. ต.บ้านโคก จ.อุตรดิตถ์                        25.2
เฝ้าระวังสูงสุด
12/10/2017 7:00 ฝนวานนี้ ต.ปากตะโก จ.ชุมพร                     372.0
วิกฤต
12/10/2017 7:00 ฝน3วัน ต.ปากตะโก จ.ชุมพร                     372.0
วิกฤต
12/10/2017 11:00 เขื่อนประแสร์ลดเป็นเฝ้าระวังพิเศษ96%
เฝ้าระวังสูงสุด
12/10/2017 16:00 ฝน15-16น. ต.ปัถวี จ.จันทบุรี                        35.8
เฝ้าระวังสูงสุด
13/10/2017 7:00 ฝน3วัน ต.ปากตะโก จ.ชุมพร                     372.2
วิกฤต
13/10/2017 13:00 ฝน12-13น. ต.พลิ้ว จ.จันทบุรี                        42.8
วิกฤต
13/10/2017 15:00 ฝน14-15น. ต.วังทรายพูน จ.พิจิตร                        38.6
เฝ้าระวังสูงสุด
14/10/2017 1:00 ฝน00-01น. ต.หันคา จ.ชัยนาท                        38.0
เฝ้าระวังสูงสุด
14/10/2017 3:00 ฝน02-03น. ต.ถนนพญาไท จ.กรุงเทพมหานคร                        45.8
วิกฤต
14/10/2017 3:00 ฝน13/07-14/03น. ต.ถนนพญาไท จ.กรุงเทพมหานคร                     100.8
เฝ้าระวังสูงสุด
14/10/2017 4:00 ฝน13/07-14/04น. ต.ถนนพญาไท จ.กรุงเทพมหานคร                     128.2
วิกฤต
14/10/2017 7:00 ฝน3วัน ต.ปากตะโก จ.ชุมพร                     396.8
วิกฤต
14/10/2017 15:00 ฝนวานนี้ กรุงเทพฯ ท่าเรือคลองเตย จ.กรุงเทพมหานคร                     190.3
วิกฤต
14/10/2017 15:00 ฝนวานนี้ กรุงเทพมหานคร จ.กรุงเทพมหานคร                     188.3
วิกฤต
15/10/2017 11:00 เขื่อนประแสร์เพิ่มเป็นวิกฤต97%
วิกฤต
15/10/2017 11:00 เขื่อนลำพระเพลิงเพิ่มเป็นวิกฤต88%
วิกฤต
16/10/2017 4:00 ฝน03-04น. ต.หาดเสี้ยว จ.สุโขทัย                        36.8
วิกฤต
16/10/2017 14:00 Tropical Storm KHANUN is 346 km. toward Thailand
เฝ้าระวังสูงสุด
16/10/2017 16:00 Tropical Depression KHANUN is 356 km. toward Thailand
เฝ้าระวังสูงสุด
17/10/2017 5:00 ฝน16/07-17/05น. ต.ท่าแฝก จ.อุตรดิตถ์                        82.4
เฝ้าระวังสูงสุด
17/10/2017 6:00 ฝน16/07-17/06น. ต.หล่มเก่า จ.เพชรบูรณ์                        98.2
เฝ้าระวังสูงสุด
17/10/2017 10:00 เขื่อนลำพระเพลิงลดเป็นเฝ้าระวังพิเศษ87%
เฝ้าระวังสูงสุด
17/10/2017 11:00 ฝนวานนี้ เลย สกษ. จ.เลย                     123.9
วิกฤต
17/10/2017 11:00 ฝนวานนี้ หล่มสัก จ.เพชรบูรณ์                        96.9
เฝ้าระวังสูงสุด
17/10/2017 18:00 ฝน17-18น. ต.ศีรษะจรเข้ใหญ่ จ.สมุทรปราการ                        35.2
เฝ้าระวังสูงสุด
17/10/2017 20:00 ฝน19-20น. ต.หนองบัว จ.ชัยนาท                        48.6
วิกฤต
17/10/2017 20:00 ฝน19-20น. ต.บ้านกล้วย จ.ชัยนาท                        41.4
วิกฤต
18/10/2017 1:00 ฝน17/07-18/01น. ต.บ้านกร่าง จ.สุโขทัย                        88.4
เฝ้าระวังสูงสุด
18/10/2017 5:00 ฝน17/07-18/05น. ต.ระแหง จ.ตาก                     115.2
วิกฤต
18/10/2017 10:00 เขื่อนขุนด่านเพิ่มเป็นวิกฤต94%
วิกฤต
18/10/2017 15:00 ฝนวานนี้ เขื่อนภูมิพล จ.ตาก                        98.6
เฝ้าระวังสูงสุด
18/10/2017 15:00 ฝนวานนี้ ตาก จ.ตาก                     152.1
วิกฤต
19/10/2017 11:00 เขื่อนประแสร์ลดเป็นเฝ้าระวังพิเศษ97%
เฝ้าระวังสูงสุด
19/10/2017 11:00 เขื่อนหนองปลาไหลลดเป็นเฝ้าระวังพิเศษ97%
เฝ้าระวังสูงสุด
20/10/2017 19:00 ฝน18-19น. ต.ตาดกลอย จ.เพชรบูรณ์                        37.4
เฝ้าระวังสูงสุด
23/10/2017 4:00 ฝน22/07-23/04น. ต.เขาทอง จ.นครสวรรค์                        89.6
เฝ้าระวังสูงสุด
23/10/2017 6:00 ฝน05-06น. ต.สลกบาตร จ.กำแพงเพชร                        32.0
เฝ้าระวังสูงสุด
23/10/2017 13:00 เขื่อนประแสร์เพิ่มเป็นวิกฤต98%
วิกฤต
24/10/2017 12:00 เขื่อนหนองปลาไหลเพิ่มเป็นวิกฤต98%
วิกฤต
25/10/2017 4:00 ฝน24/07-25/04น. ต.ปงตำ จ.เชียงใหม่                        97.6
เฝ้าระวังสูงสุด
25/10/2017 7:00 ฝน3วัน ต.ปงตำ จ.เชียงใหม่                     151.8
เฝ้าระวังสูงสุด
25/10/2017 11:00 เขื่อนน้ำพุงลดเป็นเฝ้าระวังพิเศษ100%
เฝ้าระวังสูงสุด
26/10/2017 7:00 ฝน3วัน ต.ปงตำ จ.เชียงใหม่                     150.8
เฝ้าระวังสูงสุด
26/10/2017 13:00 เขื่อนน้ำพุงเพิ่มเป็นวิกฤต99%
วิกฤต
26/10/2017 13:00 เขื่อนห้วยหลวงลดเป็นเฝ้าระวังพิเศษ96%
เฝ้าระวังสูงสุด
27/10/2017 12:00 เขื่อนน้ำพุงลดเป็นเฝ้าระวังพิเศษ99%
เฝ้าระวังสูงสุด
28/10/2017 12:00 เขื่อนหนองปลาไหลลดเป็นเฝ้าระวังพิเศษ98%
เฝ้าระวังสูงสุด
31/10/2017 11:00 เขื่อนน้ำอูนลดเป็นเฝ้าระวังพิเศษ99%
เฝ้าระวังสูงสุด











 ข้อมูลโดย : กรมชลประทาน / การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

         จากสถานการณ์ฝนตกหนักในพื้นที่ตอนบนของประเทศ ทั้งภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก ส่งผลให้ทำให้มีน้ำไหลลงเขื่อนค่อนข้างมาก จนทำให้เกิดสถานการณ์น้ำล้นเขื่อนจำนวน 6 แห่ง ได้แก่ เขื่อนกิ่วคอหมา เขื่อนแควน้อย เขื่อนอุบลรัตน์ เขื่อนจุฬาภรณ์ เขื่อนกระเสียว เขื่อนทับเสลา และมีเขื่อนที่มีปริมาณน้ำกักเก็บเกิน 80% ของความจุ ทั้งหมด 16 แห่ง ได้แก่ เขื่อนสิริกิติ์ เขื่อนแม่งัด เขื่อนกิ่วลม เขื่อนลำปาว เขื่อนลำพระเพลิง เขื่อนน้ำอูน เขื่อนสิรินธร เขื่อนห้วยหลวง เขื่อนน้ำพุง เขื่อนป่าสัก เขื่อนศรีนครินทร์ เขื่อนวชิราลงกรณ เขื่อนบางพระ เขื่อนหนองปลาไหล เขื่อนขุนด่าน และเขื่อนประแสร์
         โดยเฉพาะเขื่อนอุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น ที่มีปริมาณน้ำกักเก็บค่อนข้างมากมากตั้งแต่ต้นปี โดยปริมาณน้ำเริ่มมากกว่าเกณฑ์บริหารจัดการน้ำตัวบน ตั้งแต่วันที่ 18 พ.ค. 60 หลังจากนั้นปริมาณน้ำได้เพิ่มขึ้นอย่างช้า ๆ มาอย่างต่อเนื่อง จนถึงช่วงต้นเดือนตุลาคมที่เกิดสถานการณ์ฝนฝนตกหนักในพื้นที่รับน้ำเหนือเขื่อน ส่งผลให้มีปริมาณน้ำไหลลงเขื่อนค่อนข้างมาก โดยมีปริมาณน้ำไหลลงสูงสุด 140.88 ล้านลูกบาศก์เมตร ในวันที่ 9 ต.ค. 60 ทำให้ปริมาณน้ำในเขื่อนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว จนเกินระดับกักเก็บปกติในวันที่ 10 ต.ค. 60
หลังจากนั้นแม้ปริมาณน้ำไหลเข้าจะลดลง แต่ก็ยังคงอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างมาก ส่งผลทำให้ปริมาณน้ำกักเก็บยังคงเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ โดยมีปริมาณน้ำกักเก็บสูงสุด 2,969 ล้านลูกบาศก์เมตร ในวันที่ 22 ต.ค. 60 ทำให้มีความจำเป็นต้องทะยอยระบายน้ำออกค่อนข้างมาก สะสมมาอย่างต่อเนื่อง โดยมีอัตราการระบายสูงสุด 54.06 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อวัน ในวันที่ 22 ต.ค. 60 ซึ่งเป็นการระบายผ่าน spillway ถึง 44.12 ล้านลูกบาศก์เมตร ผลจากการระบายน้ำเป็นจำนวนมากอย่างต่อเนื่อง ทำให้พื้นที่ท้ายเขื่อนเกิดสถานการณ์น้ำท่วมเป็นบริเวณกว้าง ครอบคลุมพื้นที่จังหวัดขอนแก่น กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ยโสธร เป็นต้น รายละเอียดเพิ่มเติมตามตารางและกราฟด้านล่าง

อ่างเก็บน้ำ
ปริมาตรน้ำ 31 ต.ค.60
(ล้าน ลบ.ม.) 
% เทียบ รนก. 
เทียบเดือน ก.ย.60 (เพิ่ม/ลด)
  (ล้าน ลบ.ม.)
น้ำใช้การ
(ล้าน ลบ.ม.) 
% เทียบ รนก. 
น้ำใช้การ(เพิ่ม/ลด)
(ล้าน ลบ.ม.) 
ไหลลงสะสมตั้งแต่ต้นปี
(ล้าน ลบ.ม.) 
ไหลลงสะสม
ต.ค. 60 
(ล้าน ลบ.ม.)
ระบายสะสมตั้งแต่ต้นปี
(ล้าน ลบ.ม.) 
ระบายสะสม
ต.ค. 60 
(ล้าน ลบ.ม.)
ภาคเหนือ
เขื่อนภูมิพล           10,528                78                              2,344      6,728                50      2,344                       5,844                     2,369                       2,048                         18
เขื่อนสิริกิติ์             8,377                88                                 852      5,527                58        852                       5,183                       897                       3,865                         21
เขื่อนแม่งัด                252                95                                   60        240                90          60                         214                         67                         137                           7
เขื่อนกิ่วลม                 95                89                                   16          91                86          15                         804                       234                         806                       218
เขื่อนแม่กวง                114                43                                   19        100                38          19                         158                         29                         139                           9
เขื่อนกิ่วคอหมา                173              102                                    6        167                98            7                         359                       123                         353                       116
เขื่อนแควน้อย                975              104                                   52        932                99          52                       2,505                       637                       2,325                       583
รวมภาคเหนือ           20,513                83                              3,349    13,784                56      3,349                     15,067                     4,356                       9,674                       972
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
เขื่อนลำปาว             1,854                94                                 197      1,754                89        197                       3,461                       389                       2,710                       192
เขื่อนลำตะคอง                193                61                                   71        170                54          71                         162                         72                           61                           0
เขื่อนลำพระเพลิง                140                90                                   33        138                89          33                         186                         57                         111                         24
เขื่อนน้ำอูน                515                99                                  -44        470                90         -44                         989                         74                         564                         79
เขื่อนอุบลรัตน์             2,889              119                                 984      2,308                95        984                       5,422                     2,234                       4,125                     1,195
เขื่อนสิรินธร             1,652                84                                 147        821                42        147                       1,960                       187                       1,306                           6
เขื่อนจุฬาภรณ์                167              102                                   34        130                79          34                         240                       102                         213                         69
เขื่อนห้วยหลวง                130                96                                   18        123                91          18                         203                         63                         143                         45
เขื่อนลำนางรอง                 79                65                                   12          76                63          12                           39                           9                           14                          -  
เขื่อนมูลบน                110                78                                   14        103                73          14                         104                         27                           52                         12
เขื่อนน้ำพุง                161                98                                   -6        153                93           -6                         337                         52                         176                         21
เขื่อนลำแซะ                208                76                                   45        201                73          45                         223                         66                           98                         20
รวมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ             8,098                97                              1,505      6,448                77      1,505                     13,327                     3,333                       9,573                     1,664
ภาคกลาง
เขื่อนป่าสักฯ                958              100                                 383        955              100        383                       3,541                     1,137                       3,304                       756
เขื่อนกระเสียว                288              120                                 124        248              103        124                         386                       169                         311                         36
เขื่อนทับเสลา                165              103                                   57        148                92          57                         172                       101                         129                         47
รวมภาคกลาง             1,411              104                                 563      1,351                99        564                       4,099                     1,407                       3,744                       838
ภาคตะวันตก        
เขื่อนศรีนครินทร์           15,508                87                              1,214      5,243                30      1,213                       4,377                     1,341                       2,062                       112
เขื่อนวชิราลงกรณ             7,057                80                                 494      4,045                46        494                       4,606                       693                       2,913                       171
รวมภาคตะวันตก           22,565                85                              1,708      9,288                35      1,707                       8,983                     2,034                       4,975                       283
ภาคตะวันออก
เขื่อนบางพระ                112                96                                   10        100                85            9                         106                         17                           90                           9
เขื่อนหนองปลาไหล                160                98                                   20        147                89          20                         211                         47                           81                         14
เขื่อนคลองสียัด                306                73                                   99        276                66          99                         260                       101                         142                           0
เขื่อนขุนด่านปราการชล                222                99                                   55        218                97          56                         252                         67                         225                           6
เขื่อนประแสร์                293                99                                   43        273                93          43                         316                         74                         171                         23
เขื่อนนฤบดินทรจินดา                227                77                                   60        207                70          60                         330                         63                         294                          -  
รวมภาคตะวันออก             1,320                87                                 287      1,220                81        287                       1,476                       368                       1,004                         52
ภาคใต้
เขื่อนแก่งกระจาน                407                57                                   73        342                48          73                         507                         94                         422                         20
เขื่อนปราณบุรี                261                67                                   52        243                62          51                         256                         63                         125                           9
เขื่อนรัชชประภา             4,369                77                                   -6      3,018                54          -6                       2,476                       235                       2,897                       229
เขื่อนบางลาง                691                48                                -200        415                29       -200                       1,853                       162                       1,719                       359
รวมภาคใต้             5,728                70                                  -82      4,017                49         -82                       5,091                       554                       5,163                       617
รวมทั้งประเทศ      59,635                84                              7,330    36,108                51      7,329                     48,043                   12,052                     34,132                     4,427


เขื่อนอุบลรัตน์
ปริมาณน้ำกักเก็บ
ปริมาณน้ำไหลลงเขื่อน
 


ปริมาณน้ำระบาย

   


ข้อมูลเพิ่มเติม : http://www.thaiwater.net/DATA/REPORT/php/rid_bigcm.html








 ข้อมูลโดย : สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) , กรมชลประทาน

              
               จากสถานการณ์ฝนตกหนักในพื้นที่ตอนบนของประเทศ ทั้งภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก ส่งผลทำให้ระดับน้ำในแม่น้ำสำคัญเพิ่มขึ้นและล้นตลิ่งหลายจังหวัด โดยภาคเหนือเกิดน้ำล้นตลิ่งบริเวณแม่น้ำปิง ในพื้นที่จังหวัดกำแพงเพชร ตาก แม่น้ำน่านบริเวณจังหวัดอุตรดิตถ์ พิษณุโลก แม่น้ำแควน้อยบริเวณจังหวัดพิษณุโลก แม่น้ำวังทองบริเวณจังหวัดพิษณุโลก แม่น้ำยมบริเวณจังหวัดพิจิตร พิษณุโลก แพร่ แม่น้ำลาวบริเวณจังหวัดเชียงราย แม่น้ำอิงบริเวณจังหวัดพะเยา แม่น้ำป่าสักบริเวณจังหวัดเพชรบูรณ์ ส่วนภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีน้ำล้นตลิ่งบริเวณแม่น้ำมูลและแม่น้ำชีในพื้นที่จังหวัดขอนแก่น ชัยภูมิ นครราชสีมา ยโสธร บุรีรัมย์ ศรีสะเกษ สุรินทร์ อุบลราชธานี แม่น้ำสงครามบริเวณจังหวัดสกลนคร ห้วยโมงบริเวณจังหวัดหนองบัวลำภู ห้วยหลวงบริเวณจังหวัดอุดรธานี แม่น้ำเลยบริเวณจังหวัดเลย ส่วนภาคกลางมีน้ำล้นตลิ่งบริเวณแม่น้ำเจ้าพระยา ท่าจีน สะแกกรัง ป่าสัก ลพบุรี ในพื้นที่จังหวัดนครสวรรค์ อุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี กรุงเทพมหานคร นครปฐม สมุทรสาคร สุพรรณบุรี ลพบุรี สระบุรี ภาคตะวันออกมีน้ำล้นตลิ่งบริเวณคลองพระปรง จังหวัดสระแก้ว ส่วนภาคใต้มีน้ำล้นตลิ่งบริเวณคลองฉลุง จ.สตูล และแม่น้ำตาปี บริเวณจังหวัดสุราษฎร์ธานี
รายละเอียดเพิ่มเติมดังกราฟด้านล่าง

ภาค
จังหวัด
จำนวนสถานี
สถานีที่ตรวจพบน้ำท่วม/น้ำล้นตลิ่ง
เหนือ
กำแพงเพชร 1 ขาณุวรลักษบุรี ต.ป่าพุทรา อ.ขาณุวรลักษบุรี จ.กำแพงเพชร
ตาก 1 บ้านตาก ต.ตากตก อ.บ้านตาก จ.ตาก
พะเยา 1 ท้ายกว๊านพะเยา ต.เวียง อ.เมืองพะเยา จ.พะเยา
พิจิตร 1 โพธิ์ประทับช้าง ต.โพธิ์ประทับช้าง อ.โพธิ์ประทับช้าง จ.พิจิตร
พิษณุโลก 4 คลองผันน้ำยม-น่าน2 ต.ท่าช้าง อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลก
นครไทย ต.นครไทย อ.นครไทย จ.พิษณุโลก
แม่น้ำเข็ก (ว้งทอง) ต.วังนกแอ่น อ.วังทอง จ.พิษณุโลก
บางระกำ ต.บางระกำ อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก
เชียงราย 1 เมืองเชียงราย ต.ป่าอ้อดอนชัย อ.เมืองเชียงราย จ.เชียงราย
เพชรบูรณ์ 3 หล่มสัก ต.หล่มสัก อ.หล่มสัก จ.เพชรบูรณ์
เมืองเพชรบูรณ์ ต.สะเดียง อ.เมืองเพชรบูรณ์ จ.เพชรบูรณ์
หนองไผ่ ต.นาเฉลียง อ.หนองไผ่ จ.เพชรบูรณ์
แพร่ 1 หนองม่วงไข่ ต.น้ำรัด อ.หนองม่วงไข่ จ.แพร่
อุตรดิตถ์ 1 น้ำปาด ต.บ้านฝาย อ.น้ำปาด จ.อุตรดิตถ์
ตะวันออกเฉียงเหนือ
ขอนแก่น 3 ชนบท ต.ชนบท อ.ชนบท จ.ขอนแก่น
สะพานท่าพระ ต.ท่าพระ อ.เมืองขอนแก่น จ.ขอนแก่น
เมืองขอนแก่น ต.หนองตูม อ.เมืองขอนแก่น จ.ขอนแก่น
ชัยภูมิ 2 บ้านเขว้า ต.ภูแลนคา อ.บ้านเขว้า จ.ชัยภูมิ
หนองบัวระเหว ต.หนองบัวระเหว อ.หนองบัวระเหว จ.ชัยภูมิ
นครราชสีมา 2 เฉลิมพระเกียรติ ต.หนองยาง อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.นครราชสีมา
ชุมพวง ต.ท่าลาด อ.ชุมพวง จ.นครราชสีมา
บุรีรัมย์ 2 คูเมือง ต.ปะเคียบ อ.คูเมือง จ.บุรีรัมย์
ประโคนชัย ต.ไพศาล อ.ประโคนชัย จ.บุรีรัมย์
ยโสธร 1 มหาชนะชัย ต.ฟ้าหยาด อ.มหาชนะชัย จ.ยโสธร
ศรีสะเกษ 1 เมืองศรีสะเกษ ต.เมืองเหนือ อ.เมืองศรีสะเกษ จ.ศรีสะเกษ
สกลนคร 1 บ้านม่วง ต.ห้วยหลัว อ.บ้านม่วง จ.สกลนคร
สุรินทร์ 1 เมืองสุรินทร์ ต.ตระแสง อ.เมืองสุรินทร์ จ.สุรินทร์
หนองบัวลำภู 1 สุวรรณคูหา ต.นาสี อ.สุวรรณคูหา จ.หนองบัวลำภู
อุดรธานี 1 บ้านดุง ต.นาคำ อ.บ้านดุง จ.อุดรธานี
อุบลราชธานี 1 เขื่องใน ต.เขื่องใน อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี
เลย 2 วังสะพุง ต.วังสะพุง อ.วังสะพุง จ.เลย
เมืองเลย ต.ชัยพฤกษ์ อ.เมืองเลย จ.เลย
กลาง
กรุงเทพมหานคร 2 คลองมหาสวัสดิ บางกรวย-สวนผัก ต.ตลิ่งชัน อ.ตลิ่งชัน จ.กรุงเทพมหานคร
คลองลำปลาทิว ลาดกระบัง ต.ลาดกระบัง อ.ลาดกระบัง จ.กรุงเทพมหานคร
ชัยนาท 1 เมืองชัยนาท ต.ธรรมามูล อ.เมืองชัยนาท จ.ชัยนาท
นครปฐม 1 สามพราน ต.หอมเกร็ด อ.สามพราน จ.นครปฐม
นครสวรรค์ 1 ชุมแสง ต.เกยไชย อ.ชุมแสง จ.นครสวรรค์
นนทบุรี 2 คลองอ้อมนนท์ บางใหญ่ (ถนนบางกรวย-ไทรน้อย) ต.บางม่วง อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี
สะพานนวลฉวี ต.บ้านใหม่ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี
พระนครศรีอยุธยา 7 คลองโผงเผง ต.บางหลวงโดด อ.บางบาล จ.พระนครศรีอยุธยา
คลองบางบาล ต.ไทรน้อย อ.บางบาล จ.พระนครศรีอยุธยา
พระนครศรีอยุธยา ต.ภูเขาทอง อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา
บางปะอิน ต.ขนอนหลวง อ.บางปะอิน จ.พระนครศรีอยุธยา
บางไทร ต.โพแตง อ.บางไทร จ.พระนครศรีอยุธยา
ท่าเรือ ต.ท่าเรือ อ.ท่าเรือ จ.พระนครศรีอยุธยา
นครหลวง ต.บ่อโพง อ.นครหลวง จ.พระนครศรีอยุธยา
ลพบุรี 2 เมืองลพบุรี ต.โพธิ์เก้าต้น อ.เมืองลพบุรี จ.ลพบุรี
ชัยบาดาล ต.นิคมลำนารายณ์ อ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี
สมุทรสาคร 2 คลองมหาชัย วัดพันท้ายนรสิงห์ ต.พันท้ายนรสิงห์ อ.เมืองสมุทรสาคร จ.สมุทรสาคร
เมืองสมุทรสาคร ต.ท่าจีน อ.เมืองสมุทรสาคร จ.สมุทรสาคร
สระบุรี 1 เมืองสระบุรี ต.ปากเพรียว อ.เมืองสระบุรี จ.สระบุรี
สิงห์บุรี 2 อินทร์บุรี ต.อินทร์บุรี อ.อินทร์บุรี จ.สิงห์บุรี
พรหมบุรี ต.พรหมบุรี อ.พรหมบุรี จ.สิงห์บุรี
สุพรรณบุรี 4 สามชุก ต.สามชุก อ.สามชุก จ.สุพรรณบุรี
เมืองสุพรรณบุรี ต.ท่าพี่เลี้ยง อ.เมืองสุพรรณบุรี จ.สุพรรณบุรี
บางตาเถร ต.บางตาเถร อ.สองพี่น้อง จ.สุพรรณบุรี
สองพี่น้อง ต.สองพี่น้อง อ.สองพี่น้อง จ.สุพรรณบุรี
อุทัยธานี 2 สว่างอารมณ์ ต.สว่างอารมณ์ อ.สว่างอารมณ์ จ.อุทัยธานี
เมืองอุทัยธานี ต.อุทัยใหม่ อ.เมืองอุทัยธานี จ.อุทัยธานี
ภาคตะวันออก
สระแก้ว 2 คลองพระปรง ต.ศาลาลำดวน อ.เมืองสระแก้ว จ.สระแก้ว
เมืองสระแก้ว ต.สระขวัญ อ.เมืองสระแก้ว จ.สระแก้ว
ภาคใต้
สตูล 1 เมืองสตูล ต.ฉลุง อ.เมืองสตูล จ.สตูล
สุราษฎร์ธานี 1 พุนพิน 3 ต.ท่าสะท้อน อ.พุนพิน จ.สุราษฎร์ธานี

ข้อมูลเพิ่มเติม : http://www.thaiwater.net/v3/telemetering/wl/warning


ปริมาณน้ำไหลผ่านที่ค่ายจิรประวัติ จ.นครสวรรค์ และการระบายน้ำที่เขื่อนเจ้าพระยา จ.ชัยนาท

               จากสถานการณ์ฝนตกหนักในพื้นที่ภาคกลางตอนบน รวมถึงปริมาณน้ำที่ไหลมาสมทบจากภาคเหนือ ส่งผลทำให้บริเวณลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนล่างมีปริมาณน้ำค่อนข้างมาก โดยบริเวณค่ายจิรประวัติ อ.เมือง จ.นครสวรรค์ มีปริมาณน้ำเพิ่มขึ้นมากตั้งแต่ช่วงต้นเดือนตุลาคม 2560 โดยมีปริมาณน้ำไหลผ่านสูงสุด 3,054 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ในวันที่ 23 ต.ค. 60 โดยปริมาณน้ำดังกล่าวได้ไหลลงสู่จังหวัดชัยนาท ส่งผลทำให้เขื่อนเจ้าพระยาต้องเพิ่มการระบายน้ำอย่างต่อเนื่อง โดยมีการระบายน้ำสูงสุด 2,697 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ต่อเนื่องตั้งแต่วันที่ 24-30 ต.ค. 60 ส่งผลให้พื้นที่ลุ่มต่ำบริเวณริมแม่น้ำเจ้าพระยา เกิดสถานการณ์น้ำล้นตลิ่งในหลายจังหวัด เช่น จังหวัดชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี และกรุงเทพมหานคร



ข้อมูลเพิ่มเติม : http://www.thaiwater.net/DATA/REPORT/php/show_itcwater.php






ข้อมูลโดย : สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)




               ดาวเทียม COSMO-SkyMed-2 RADARSAT-2 ได้บันทึกภาพบริเวณประเทศไทย  ช่วงเดือนตุลาคม 2560 และจากการวิเคราะห์ภาพจากดาวเทียมพบพื้นที่ถูกน้ำท่วมทั้งสิ้น 42 จังหวัด ประกอบด้วย ภาคเหนือ 11 จังหวัด ได้แก่ พิจิตร พิษณุโลก สุโขทัย กำแพงเพชร เพชรบูรณ์ อุตรดิตถ์ พะเยา ตาก เชียงราย เชียงใหม่ ลำปาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 18 จังหวัด ได้แก่ ร้อยเอ็ด ขอนแก่น กาฬสินธุ์ ยโสธร มหาสารคาม อุบลราชธานี ศรีสะเกษ สกลนคร ชัยภูมิ นครพนม สุรินทร์ นครราชสีมา อุดรธานี บุรีรัมย์ หนองคาย บึงกาฬ หนองบัวลำภู อำนาจเจริญ ภาคกลาง 13 จังหวัด ได้แก่ นครสวรรค์ พระนครศรีอยุธยา สุพรรณบุรี ลพบุรี อ่างทอง ชัยนาท สิงห์บุรี สระบุรี อุทัยธานี สมุทรสาคร ปทุมธาน นครปฐม และนนทบุรี รวมพื้นที่ถูกน้ำท่วมประมาณ 4.7 ล้านไร่  โดยจังหวัดนครสวรรค์มีพื้นที่ถูกน้ำท่วมมากที่สุด 735,855 ไร่ รองลงมาคือจังหวัดพิจิตร 527,197 ไร่ และพระนครศรีอยุธยา 502,300 ไร่ รายละเอียดเพิ่มเติมดังตารางและแผนที่ด้านล่าง 

คลิ๊กที่ภาพเพื่อแสดงภาพใหญ่

ลำดับ
จังหวัด
พื้นที่ (ไร่) 
1 จ.นครสวรรค์       735,855.37
2 จ.พิจิตร       527,196.71
3 จ.พระนครศรีอยุธยา       502,300.02
4 จ.พิษณุโลก       438,820.90
5 จ.สุพรรณบุรี       438,636.40
6 จ.สุโขทัย       400,539.38
7 จ.ร้อยเอ็ด       209,196.08
8 จ.ลพบุรี       168,307.52
9 จ.กำแพงเพชร       118,588.61
10 จ.เพชรบูรณ์       114,839.65
11 จ.อ่างทอง       114,636.00
12 จ.ชัยนาท       109,667.38
13 จ.ขอนแก่น       103,364.28
14 จ.สิงห์บุรี         79,547.72
15 จ.กาฬสินธุ์         76,865.25
16 จ.ยโสธร         74,606.43
17 จ.มหาสารคาม         72,591.66
18 จ.อุบลราชธานี         57,324.04
19 จ.ศรีสะเกษ         54,687.10
20 จ.สระบุรี         46,245.35
21 จ.สกลนคร         38,461.13
22 จ.อุตรดิตถ์         34,213.00
23 จ.ชัยภูมิ         30,875.08
24 จ.อุทัยธานี         30,072.19
25 จ.นครพนม         29,527.20
26 จ.สุรินทร์         25,401.13
27 จ.นครราชสีมา         17,389.71
28 จ.อุดรธานี         16,743.06
29 จ.พะเยา         16,396.94
30 จ.บุรีรัมย์         11,757.99
31 จ.ตาก         11,003.30
32 จ.หนองคาย         10,072.82
33 จ.บึงกาฬ           9,400.46
34 จ.เชียงราย           4,290.34
35 จ.หนองบัวลำภู           2,986.59
36 จ.เชียงใหม่           2,513.18
37 จ.อำนาจเจริญ             405.85
38 จ.ลำปาง             187.95
39 จ.สมุทรสาคร             168.68
40 จ.ปทุมธานี             100.24
41 จ.นครปฐม                1.18
42 จ.นนทบุรี                0.00
  รวมพื้นที่น้ำท่วมเดือนตุลาคม     4,735,783.86

 

รายงานการติดตามพื้นที่น้ำท่วมปี 2560 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม Radarsat-2
บันทึกภาพวันที่ 3 ตุลาคม 2560 เวลา 18.24 น. บริเวณบางส่วนของจังหวัดพิจิตร พิษณุโลก นครสวรรค์ สุโขทัย พระนครศรีอยุธยา เพชรบูรณ์ ชัยนาท อ่างทอง สิงห์บุรี สระบุรี อุตรดิตถ์ และลพบุรี

รายละเอียดเพิ่มเติม
รายงานการติดตามพื้นที่น้ำท่วมปี 2560 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม LANDSAT-8 บันทึกภาพวันที่ 8 ตุลาคม 2560 เวลา 14.26 น. บริเวณบางส่วนของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สุพรรณบุรี ลพบุรี เพชรบูรณ์ ชัยนาท สิงห์บุรี นครสวรรค์ สระบุรี และอ่างทอง

รายละเอียดเพิ่มเติม
รายงานการติดตามพื้นที่น้ำท่วมปี 2560 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม COSMO-SkyMed-3 บันทึกภาพวันที่ 10 ตุลาคม 2560 เวลา 06.10 น. บริเวณบางส่วนของจังหวัดพิจิตร พิษณุโลก สุโขทัย นครสวรรค์ เพชรบูรณ์ และอุตรดิตถ์

รายละเอียดเพิ่มเติม
รายงานการติดตามพื้นที่น้ำท่วมปี2560 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม COSMO-SkyMed-4
บันทึกภาพวันที่ 12 ตุลาคม 2560 เวลา 17.52 น.
บริเวณบางส่วนของจังหวัดนครสวรรค์ เพชรบูรณ์ ลพบุรี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง สุพรรณบุรี พระนครศรีอยุธยา และสระบุรี

รายละเอียดเพิ่มเติม
รายงานการติดตามพื้นที่น้ำท่วมปี 2560 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม Radarsat-2
บันทึกภาพวันที่ 13 ตุลาคม 2560 เวลา 18.33 น. บริเวณบางส่วนของภาคเหนือ และภาคกลาง

รายละเอียดเพิ่มเติม
รายงานการติดตามพื้นที่น้ำท่วมปี2560 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม COSMO-SkyMed-2 บันทึกภาพวันที่ 15 ตุลาคม 2560 เวลา 17.34 น.
บริเวณบางส่วนของจังหวัดนครสวรรค์ เพชรบูรณ์ ลพบุรี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง สุพรรณบุรี และพระนครศรีอยุธยา

รายละเอียดเพิ่มเติม
รายงานการติดตามพื้นที่น้ำท่วมปี 2560 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม COSMO-SkyMed-4 บันทึกภาพวันที่ 17 ตุลาคม 2560 เวลา 17.47 น. บริเวณบางส่วนของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สุพรรณบุรี อ่างทอง ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี และปทุมธานี

รายละเอียดเพิ่มเติม
รายงานการติดตามพื้นที่น้ำท่วมปี 2560 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม Radarsat-2 บันทึกภาพวันที่ 17 ตุลาคม 2560 เวลา 18.17 น. บริเวณบางส่วนของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

รายละเอียดเพิ่มเติม
รายงานการติดตามพื้นที่น้ำท่วมปี 2560 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม Radarsat-2 บันทึกภาพวันที่ 19 ตุลาคม 2560 เวลา 06.14 น. บริเวณบางส่วนของภาคเหนือตอนล่าง และภาคกลาง

รายละเอียดเพิ่มเติม
รายงานการติดตามพื้นที่น้ำท่วมปี 2560 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม COSMO-SkyMed-4 บันทึกภาพวันที่ 23 ตุลาคม 2560 เวลา 05.58 น.
บริเวณบางส่วนของจังหวัดขอนแก่น มหาสารคาม หนองบัวลำภู ชัยภูมิ อุดรธานี และกาฬสินธุ์

รายละเอียดเพิ่มเติม
รายงานการติดตามพื้นที่น้ำท่วมปี 2560 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม COSMO-SkyMed-4 บันทึกภาพวันที่ 23 ตุลาคม 2560 เวลา 17.59 น. บริเวณบางส่วนของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สุพรรณบุรี อ่างทอง ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี
ชัยนาท และปทุมธานี

รายละเอียดเพิ่มเติม
รายงานการติดตามพื้นที่น้ำท่วมปี2560 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียมRadarsat-2 บันทึกภาพวันที่ 24 ตุลาคม 2560 เวลา 18.13 น. บริเวณบางส่วนของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

รายละเอียดเพิ่มเติม
รายงานการติดตามพื้นที่น้ำท่วมปี 2560 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม Radarsat-2 บันทึกภาพวันที่ 26 ตุลาคม 2560 เวลา 06.10 น. บริเวณบางส่วนของจังหวัดนครสวรรค์ พิจิตร พิษณุโลก สุโขทัย เพชรบูรณ์ อุทัยธานี ชัยนาท ก้าแพงเพชร อุตรดิตถ์ ชัยภูมิ ขอนแก่น ลพบุรี นครราชสีมา

รายละเอียดเพิ่มเติม
รายงานการติดตามพื้นที่น้ำท่วมปี 2560 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม Radarsat-2 บันทึกภาพวันที่ 27 ตุลาคม 2560 เวลา 18.24 น. บริเวณบางส่วนของจังหวัดนครสวรรค์ พิจิตร พระนครศรีอยุธยา พิษณุโลก สุโขทัย ลพบุรี อ่างทอง สิงห์บุรี ชัยนาท ขอนแก่น เพชรบูรณ์ สระบุรี ชัยภูมิ อุตรดิตถ์ และนครราชสีมา

รายละเอียดเพิ่มเติม




 
 
ข้อมูลโดย : กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย


           
          รายงานสถานการณ์สาธารณภัยของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ประจำวันที่ 31 ตุลาคม 2560 เวลา 07.00 น. ได้รายงานพื้นที่ประสบภัยจากอิทธิพลของพายุดีเปรสชัน รวมถึงการระบายนํ้าจากเขื่อนเจ้าพระยาและเขื่อนอุบลรัตน์ ในช่วงวันที่ 10 - 30 ต.ค. 60 มีพื้นที่ประสบภัยทั้งสิ้น 23 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ เลย กําแพงเพชร ตาก สุโขทัย พิจิตร นครสวรรค์ อุทัยธานี สิงห์บุรี ลพบุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี ชัยนาท เพชรบูรณ์ สุพรรณบุรี หนองบัวลําภู ขอนแก่น มหาสารคาม กาฬสินธุ์ ร้อยเอ็ด อุบลราชธานี สุราษฎร์ธานี รวม 78 อำเภอ 479 ตำบล 2,820 หมู่บ้าน 42 ชุมชน ประชาชน ได้รับผลกระทบ 125,716 ครัวเรือน 326,072 คน ผู้เสียชีวิต 10 ราย ประกอบด้วย ตาก 2 ราย พิจิตร 2 ราย สิงห์บุรี 1 ราย เลย 1 ราย ลพบุรี 1 ราย สุโขทัย 1 ราย เพชรบูรณ์ 1 ราย สุราษฎร์ธานี 1 ราย  ได้รับการช่วยเหลือแล้วทั้ง 10 ราย ปัจจุบันสถานการณ์คลี่คลายแล้ว 6 จังหวัด ได้แก่ กําแพงเพชร เลย เพชรบูรณ์ สุราษฎร์ธานี เชียงใหม่ ตาก และยังคงมีสถานการณ์ 17 จังหวัด ได้แก่ สุโขทัย พิจิตร นครสวรรค์ อุทัยธานี สิงห์บุรี ลพบุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี ชัยนาท สุพรรณบุรี หนองบัวลําภู ขอนแก่น มหาสารคาม กาฬสินธุ์ ร้อยเอ็ด อุบลราชธานี รวม 57 อำเภอ 390 ตำบล 2,154 หมู่บ้าน 110,627 ครัวเรือน 291,373 คน อพยพ 20 ครัวเรือน รายละเอียดดังนี้


ลุ่มน้ำยม

          1) จ.สุโขทัย ปัจจุบันยังคงมีสถานการณ์ในพื้นที่ 2 อำเภอ 2 ตำบล 7 หมู่บ้าน ประชาชนได้รับผลกระทบ 54 ครัวเรือน 126 คน ผู้เสียชีวิต 1 ราย (นายปรีชา อัมพวัน อายุ 38 ปี จมน้ำบริเวณคลองยายนี ต.ดงเดือย อ.กงไกรลาศ) รายละเอียดดังนี้
                   -อ.ศรีสําโรง ต.บ้านซ่าน (ม.1,2,4,5,6,10)
                   -อ.กงไกรลาศ ต.ดงเดือย (ม.11)

ลุ่มน้ำยมและลุ่มน้ำน่าน

         2) จ.พิจิตร ปัจจุบันยังคงมีสถานการณ์ในพื้นที่ 8 อำเภอ 1 เทศบาลเมือง 43 ตำบล 274 หมู่บ้าน 2 ชุมชน ประชาชนได้รับ ผลกระทบ 11,512 ครัว รือน 285,690 คน มีผู้เสียชีวิต 2 ราย (1.นายสุวรรณ แก้วทิพย์ อายุ 68 ปี สาเหตุ ออกหาปลา พลัดตกน้ำ ต.ท้ายทุ้ง อ.ทับคล้อ 2.นายอํานาจ มาเง้า อายุ 43 ปี สาเหตุ   ช่วยภรรยาที่พลัดตกน้ำแล้วหมดแรงจมน้ำ ที่ ต.งิ้วราย อ.ตะพานหิน ) รายละเอียดดังนี้

ลุ่มน้ำยม

                   - อ.สามง่าม ต.รังนก (ม.1-11) ต.สามง่าม (ม.1-9) ต.หนองโสน (ม.1-6) ต.กําแพงดิน  ม.1-12) ต.เนินปอ (ม.1-9)
                   - อ.โพธิ์ประทับช้าง ต.โพธิ์ประทับช้าง (ม.2,3,5,7,12) ต.วังจิก (ม.1-10) ต.เนินสว่าง (ม.1,2,5)ต.ไผ่ท่าโพ (ม.1-10) ต.ไผ่รอบ (ม.1-10,13,17) ต.ทุ่งใหญ่ (ม.5,15)
                   - อ.บึงนาราง ต.บางลาย (ม.1-7,9,10) ต.แหลมรัง (ม.4)
                   - อ.โพทะเล ต.ท่าบัว ม.1,4,8,10 ต.ทะนง ม.1-6,8,10 ต.โพทะเล ม.1-9 ต.บ้านน้อย  (ม.2,3,5,6) ต.ท่านั่ง (ม.1-6) ต.ท่าขมิ้น (ม.1,2,5,6,8,9) ต.ท้ายน้ำ (ม.1-6,8,10) ต.ท่าเสา (ม.1-4,6-9) ต.บางคลาน (ม.1-6)
 ลุ่มน้ำน่าน
                   - อ.เมืองน่าน ต.หัวดง (ม.1,2,3,6,7,8,9) ต.บ้านบุ่ง (ม.1-7) เทศบาลเมืองพิจิตร ต.ป่ามะคาบ   (ม.4-6,10,14) ต.ฆะมัง (ม.3-10) ต.ท่าฬ่อ (ม.5,6) ต.ท่าหลวง (ม.1-9) ต.ปากทาง (ม.1-3,5-8) ต.เมืองเก่า (ม.5) ต.โรงช้าง (ม.1-4,7)
                   -อ.ตะพานหิน ต.หนองพะยอม (ม.3,10) ต.งิ้วราย (ม.1-8) ต.วังหลุม (ม.2,7,9,10) ต.ทุ่งโพธิ์ (ม.1-7) ต.ดงตะขบ (ม.3,8) ต.ไทรโรงโขน (ม.1-3) ต.ไผ่หลวง (ม.2,4) ต.คลองคูณ (ม.3)
                   - อ.วังทรายพูน ต.หนองปลาไหล (ม.3,4,5,6,7,8,10,13,15)
                   - อ.บางมูลนาก เทศบาลเมืองบางมูลนาก 2 ชุมชน ต.หอไกร (ม.1-9) ต.เนินมะกอก (ม.1-12) ต.บางไผ่ (ม.2-5,7,11,12)

ลุ่มน้ำเจ้าพระยา

          3) จ.นครสวรรค์ ปัจจุบันยังคงมีสถานการณ์ในพื้นที่ 4 อำเภอ 38 ตำบล 238 หมู่ ประชาชนได้รับผลกระทบ 15,763 ครัวเรือน 33,097 คน รายละเอียดดังนี้
                   - อ.เมืองนครสวรรค์ ต.บางพระหลวง (ม.1-6,8) ต.พระนอน (ม.1-15) ต.นครสวรรค์ออก (ม.1-7) ต.ตะเคียนเลื่อน (ม.1-12) ต.หนองปลิง (ม.13) ต.กลางแดด (ม.1-7) ต.เกรียงไกร (ม.1-12) ต.บ้านมะเกลือ (ม.1-12) ต.บึงเสนาท (ม.1-16) ต.หนองกระโดด (ม.1-16) ต.แควใหญ่ (ม.1-15) ต.บ้านแก่ง (ม.1-12)
                   - อ.พยุหะคีรี ต.น้ำทรง (ม.1-9) ต.ท่าน้ำอ้อย (ม.4-8) ต.ม่วงหัก (ม.6-10)ต.เขากะลา (ม.1-11,14- 19) ต.ย่านมัทรี (1-4) ต.พยุหะ (ม.1-5,7-8) ต.เขาทอง (1-12) ต.สระทะเล (ม.1-12)
                   - อ.โกรกพระ ต.โกรกพระ (ม.1-3,5-8) ต.บางประมุง (ม.1-3,6-8) ต.เนินกว้าว (ม.2,5-7) ต.ศาลาแดง (ม.1-5) ต.ยางตาล (ม.1-9) ต.นากลาง (ม.1-8) ต.บางมะฝ่อ (ม.1-6)
                   - อ.ชุมแสง ต.พันลาน (ม.1-8) ต.บ้านเคียน (ม.1-14) ต.พิกุล (ม.1-10) ต.ท่าไม้ (ม.1-15) ต.โคกหม้อ (ม.1-8) ต.ฆะมัง (ม.1-8) ต.หนองกระเจา (ม.1-14) ต.เกยไชย (ม.1-17) ต.ทับกฤช   (ม.1-14) ต.ทับกฤชใต้ (ม.1-8) ต.ไผ่สิง (ม.1-10)

          10) จ.ชัยนาท ปัจจุบันมีสถานการณ์ในพื้นที่ 5 อำเภอ 23 ตำบล 114 หมู่บ้าน 4 ชุมชน ประชาชนได้รับ ผลกระทบ 4,151 ครัวเรือน 10,377 คน รายละเอียดดังนี้
                   - อ.มโนรมย์ ต.ท่าฉนวน (ม.3,5,9) ต.ศิลาดาน (ม.3,4,6) ต.คุ้งสําเภา (ม.1,2,4) ต.วัดโคก (ม.1,2)
                   - อ.สรรพยา ต.ตหลุก (ม.1-5,7,8,10,11,12) ต.หาดอาษา (ม.1-6,9) ต.โพนางดําออก (ม.1-7) ต.โพนางดําตก (ม.1-5) ต.บางหลวง (ม.1-4) ต.สรรพยา (ม.1-7) ต.เขาแก้ว 2 ม.
                   - อ.เมืองฯ ต.ธรรมามูล (ม.1,2,3,4,7) ต.หาดท่าเสา (ม.2,3,6) ต.เขาท่าพระ (1,7) ต.ท่าชัย (ม.1-4,11) ต.ชัยนาท (ม.6,7) ต.บ้านกล้วย (ม.2,4) ทม.ชัยนาท 4 ชุมชน
                   - อ.วัดสิงห์ ต.มะขามเฒ่า (ม.1-5)
                   - อ.หันคา ต.เด่นใหญ่ (ม.1,9,12) ต.หันคา (ม.3,9)

          11) จ.สุพรรณบุรี ปัจจุบันมีสถานการณ์ในพื้นที่ 4 อำเภอ 37 ตำบล 1 เทศบาลเมือง 1227 หมู่บ้าน 16 ชุมชน ประชาชนได้รับ ผลกระทบ 12,523 ครัวเรือน 43,035 คน นาข้าว 23,387 ไร่ พืชไร่ 75 ไร่ บ่อกุ้ง 3,851 ไร่ บ่อปลา 1,232 ไร่ รายละเอียดดังนี้
                   - อ.บางปลาม้า ต.จรเข้ใหญ่ (ม.1-9) ต.องครักษ์ (ม.1-7) ต.ไผ่กองดิน (ม.1-8) ต.บ้านแหลม (ม.1-5) ต.วัดโบสถ์ (ม.1-11) ต.กฤษณา (ม.1-7) ต.สาลี (ม.2,4,6,7,8) ต.โคกคราม (ม.1-12) ต.บางปลาม้า (ม.1,4) ต.ตะค่า (ม.3,4) ต.มะขามล้ม (ม.1) ต.บางใหญ่ (ม.1,4) ต.วัดดาว (ม.1-10)
                   - อ.สองพี่น้อง ต.บางตาเถร (ม.1-4,6,7,9,12,14) ต.หัวโพธิ์ (ม.1,4,5,8,10,12) ต.ศรีสําราญ (ม.1,2,4,9,14) ต.บางตะเคียน (ม.2,3,5,7) ต.บางเลน (ม.1,2,5) ต.บ้านกุ่ม (ม.1-4) ต.ต้นตาล (ม.1,3,6) ต.บ้านช้าง (ม.1-5)
                   - อ.เมืองฯ ต.โคกโคเฒ่า (ม.1-4) ต.ทับตีเหล็ก (ม.1-3,5) ต.พิหารแดง (ม.1,3,5) ต.รั้วใหญ่ (ม.1-3,6) ต.ดอนมะสังข์ (ม.3,5) ต.ท่าระหัด (ม.1-5) ต.สนามชัย (ม.1,3,4) ต.โพธิ์พระยา (ม.1,3,6,7) ทม.สุพรรณบุรี 16 ชุมชน
                   - อ.เดิมบางนางบวช ต.ปากน้ำ (ม.2,4,6) ต.นางบวช (ม.1,5) ต.เขาพระ (ม.7)

ลุ่มน้ำชี

          12) จ.หนองบัวลําภู ผลกระทบจากน้ำเขื่อนอุบลรัตน์หนุนและไหลเข้าท่วมบ้านเรือนราษฎร ในพื้นที่ 3 อำเภอ 23 ตำบล 162 หมู่บ้าน ประชาชนได้รับผลกระทบ 4,164 ครัวเรือน 10,826 คน รายละเอียดดังนี้
                   - อ.ศรีบญเรือง ต.ศรีบุญเรือง (ม.1,2,4-7,9,10,12-16) ต.หันนางาม (ม.1-8) ต.นากอก (ม.1-23) ต.ทรายทอง (ม.1-10) ต.หนองบัวใต้ (ม.1-6,10) ต.โนนม่วง (ม.5,8) ต.กุดสะเทียน (ม.4) ต.เมืองใหม่ (ม.1,9,14) ต.โนนสะอาด (ม.3,5) ต.ยางหล่อ (ม.13) ต.หนองกุงแก้ว (ม.1,8)
                   - อ.โนนสัง ต.โนนสัง (ม.1,2,4,7,11,13) ต.หนองเรือ (ม.1-14) ต.โคกม่วง (ม.1,2,3,6,7) ต.บ้านค้อ (ม.1-10) ต.โนนเมือง (ม.1-7) ต.โคกใหญ่ (ม.1-3,5-7)
อ.เมืองฯ ต.บ้านพร้าว (ม.1-15) ต.นาคําไฮ (ม.1-11) ต.หัวนา (ม.1,2,10,11,12,13) ต.หนองบัว (ม.7) ต.บ้านขาม (ม.2,3,5,6,14)

          13) จ.ขอนแก่น ปัจจุบันมีสถานการณ์ในพื้นที่ 3 อำเภอ 8 ตำบล 28 หมู่บ้าน ประชาชนได้รับผลกระทบ 2,336 ครัวเรือน 4,672 คน รายละเอียดดังนี้
                   - อ.อุบลรัตน์ ต.เขื่อนอุบลรัตน์ (ม.3,8)
                   - อ.น้ำพอง ต.วังชัย (ม.9,10,11,13) ต.ท่ากระเสริม (ม.4-9) ต.บ้านขาม (ม.7)
                   อ.เมืองฯ ต.สําราญ (ม.4) ต.โคกสี (ม.3,4,5,6,10,11) ต.บึงเนียม (ม.5,6,7) ต.ดอนหัน (ม.3,4,6,12,15)

          14) จ.มหาสารคาม ปัจจุบันมีสถานการณ์ในพื้นที่ 3 อำเภอ 19 ตำบล 122 หมู่บ้าน ประชาชนได้รับผลกระทบ 516 ครัวเรือน 1,341 คน อพยพ 20 ครัวเรือน (อ.โกสุมพิสัย) วัด 3 แห่ง ถนน 23 จุด คอสะพาน 1 แห่ง รายละเอียดดังนี้
                   - อ.โกสุมพิสัย ต.หัวขวาง (ม.13,16) อพยพ 20 ครัวเรือน (ไปตั้งเต็นพักพิงชั่วคราว บริเวณบึงกุย) ต.ยางท่าแจ้ง (ม.3,8) ต.แก้งแก (ม.8) ต.โพนงาม (ม.4,6,9,11)
                   - อ.กันทรวิชัย ต.นาสีนวน (ม.10,14,15,18,17)ต.ขามเรียง  ม.4,5,6,7,11,12,14,18,19,21,23) ต.เขวาใหญ่ (ม.1-4,6-12,14-16) ต.ขามเฒ่าพัฒนา (ม.3-6,12,17) ต.ท่าขอนยาง (ม.1-7,10,11,14) ต.มะค่า (ม.1-15) ต.กุดใส้จ่อ (ม.2,4,11)
                   -อ.เมืองฯ ต.ลาดพัฒนา ต.ท่าตูม ต.แก่งเลิงจาน ต.เกิ้ง ต.ห้วยแอ่ง ต.หนองโน

          15) จ.กาฬสินธุ์ ปัจจุบันมีสถานการณ์ในพื้นที่ 2  อำเภอ 7  ตำบล 25 หมู่บ้าน ประชาชนได้รับผลกระทบ 18 ครัวเรือน 42 คน วัด 2 แห่ง โรงเรียน 1 แห่ง ถนน 5 สาย พื้นที่การเกษตร 6,344 ไร่ รายละเอียดดังนี้
                   - อ.ฆ้องชัย ต.ลําชี (ม.6,7,8) ต.เหล่ากลาง (ม.3) ต.โคกสะอาด (ม.1) ต.ฆ้องชัยพัฒนา (ม.10)
                   - อ.กมลาไสย ต.เจ้าท่า (ม.2,3,5,6,7,8,9,10,11,13,14,15,16) ต.ธัญญา (ม.5,10,11,12,15) ต.ดงลิง (ม.8)

          16) จ.ร้อยเอ็ด ปัจจุบันมีสถานการณ์ในพื้นที่  1  อำเภอ 3  ตำบล 7  หมู่บ้าน ประชาชนได้รับผลกระทบ 159 ครัวเรือน 548 คน รายละเอียดดังนี้
                   - อ.จังหาร ต.ม่วงลาด (ม.8) ต.ดินดํา (ม.7,9,10) ต.ดงสิงห์ (ม.3,5,16)

ลุ่มน้ำมูล

          17) จ.อุบลราชธานี ปัจจุบันมีสถานการณ์ในพื้นที่ 2 อำเภอ 1 เทศบาลเมือง 1 เทศบาลนคร 18 หมู่บ้าน ประชาชนได้รับ ผลกระทบ 64 ครัวเรือน 906 คน ดังนี้
                   - อ.เมืองฯ เทศบาลนครอุบลราชธานี
                   - อ.วารินชําราบ เทศบาลเมืองวารินชําราบ

 




 


น้ำท่วมวงกว้างชาวบางระกำออกหาปลาขายได้จำนวนมาก [ พิษณุโลกนิวส์ : 8 ต.ค. 60 ]


วันที่ 8 ต.ค. 2560  ผู้สื่อข่าวรายงานมาว่า ชาวบ้านอำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก ต่างดำเนินชีวิตกันตามปกติหลังสละพื้นที่ทางการเกษตรให้น้ำที่ไหลหลากมาจากภาคเหนือผ่าน จ.สุโขทัย เข้าไปกักเก็บไว้เพื่อช่วยชาวบ้านลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนล่างไม่ต้องเผชิญกับการถูกน้ำท่วมอย่างหนักในปีนี้ ตั้งแต่ปลายเดือนกรกฎาคมเป็นต้นมา โดยปรับวิถีชีวิตเป็นชาวประมงออกหาปลาเพื่อจำหน่ายให้กับพ่อค้าแม่ค้ารถเร่ที่ตระเวนรับซื้อถึงบ้าน ส่วนผู้สูงอายุก็นั่งเหลาไม้ไผ่เพื่อทำเป็นซี่ไว้ให้ลูกหลานทำลอบแดงเครื่องมือจับปลากันทุกวัน โดยไม่ปล่อยเวลาให้ว่างไปกับการถูกน้ำท่วมบ้านเรือนเฉกเช่นชาวบ้านในพื้นที่ต่าง ๆ ที่นั่งอมทุกข์เพราะถูกน้ำท่วมเช่นเดียวกัน

นางแอ๊ว  ศรีทองทา อายุ 50 ปี แม่ค้ารับซื้อปลา เปิดเผยว่า ตนกับสามีจะขับรถรับซื้อปลาตามหมู่บ้านต่าง ๆ ในเขต ต.ท่านางงาม และ ต.ชุมแสงสงคราม เนื่องจากเมื่อถึงฤดูน้ำหลากจะเป็นพื้นที่หน่วงน้ำทำให้มีปลาเป็นจำนวนมาก หากพ้นช่วงนี้ไปก็จะตระเวนไปตามตำบลอื่น ๆ ที่อยู่ใน อ.บางระกำ เพื่อรับซื้อปลาไปขายตลอดทั้งปี โดยปลาสดจะนำไปส่งขายให้กับแม่ค้าในตลาดสด อ.บางระกำ ส่วนปลาที่นำไปทำปลาร้าจะไปส่งโรงงานทำปลาร้าอยู่ใน ต.บางระกำ

ด้าน นางลำเจียก  ขำศรี อายุ 48 ปี บ้านเลขที่ 69 หมู่ 1 บ้านบางบ้า ต.ชุมแสงสงคราม อ.บางระกำ เปิดเผยว่า สามีของตนจะหาปลาตามท้องทุ่ง เพื่อนำมาทำเป็นอาหารกินกันที่บ้าน ส่วนที่เหลือก็ขายเป็นปลาสด โดยปลากระดี่ที่จะนำไปทำปลาร้านั้นจะเก็บไว้เพื่อให้มีจำนวนมาก ก่อนขายให้กับพ่อค้าแม่ค้ารถเร่ที่มารับซื้อในหมู่บ้าน รายได้จากการจำหน่ายปลาที่จับมาได้ในแต่ละวันไม่แน่นอน ได้มากบ้างน้อยบ้าง


นายชำนาญ  ชูเที่ยง ผอ.โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษายมน่าน เปิดเผยว่า ระดับน้ำที่ประตูระบายน้ำบางแก้ว ต.บางระกำ อยู่ที่ 41.43 ม.รทก. เพิ่มขึ้นจากเดิม4 เซนติเมตร น้ำล้นสปิลเวย์สูง 1.64 เมตร ปริมาณไหลผ่าน 94.10 ลบ.ม.ต่อวินาที สำหรับพื้นที่ชุมชนที่ได้รับ ผลกระทบน้ำเอ่อล้นตลิ่ง ทางกรมชลประทาน ฝ่ายปกครอง และ ฝ่ายทหาร ได้เข้าไปช่วยเหลือ โดยการติดตั้งเครื่องสูบน้ำ และ ใช้รถขุดเอาวัชพืชออก เสริมคันดิน และเสริมกระสอบทราย ป้องกัน น้ำเข้าบ้านเรือนราษฎรในพื้นที่ แนวโน้มคาดว่าภายใน 5 – 7 วัน หลังจากไม่มีฝนตกในพื้นที่ สถานการณ์จะคลี่คลายจากภาวะน้ำเอ่อล้นตลิ่ง และล้นทางสัญจร









นํ้าล้นตลิ่ง ไปถึงปทุม ท่วมวัด-ร.ร. [ ไทยรัฐออนไลน์ : 10 ต.ค. 60 05:45 น. ]

จ.ลำปาง น้ำป่าซัดฝายเก็บน้ำลำห้วยแม่-ตาลน้อยแตก มวลนํ้า ทะลักท่วม 2 อำเภอ บ้านเรือนเสียหายกว่า 180 หลัง จ.เลย สถานการณ์น้ำท่วมคลี่คลายพบเหยื่อน้ำป่ารอดตายปาฏิหาริย์ 1 คน ลุ่มเจ้าพระยาวิกฤติน้ำเหนือไหลมาสมทบต่อเนื่อง จ.นครสวรรค์ น้ำท่วมขยายวงกว้างบางจุดสูงกว่า 2 เมตร จ.ปทุมธานี เจ้าพระยาเริ่มเอ่อท่วมพื้นที่ริมตลิ่ง กรมชลฯเตรียมเพิ่มการระบายน้ำ 3 เขื่อนหลักรองรับฝนตกหนัก ลุ้นพายุลูกใหม่เข้าไทย 16 ต.ค.นี้

หลายพื้นที่ยังประสบปัญหาน้ำท่วมขังหลังฝนตกหนัก เมื่อวันที่ 9 ต.ค. ผู้สื่อข่าวรายงานว่าฝนที่ตกหนักอย่างต่อเนื่องในพื้นที่ จ.ลำปาง ทำให้เกิดน้ำป่าไหลกัดเซาะฝายเก็บน้ำลำห้วยแม่ตาลน้อย อ.ห้างฉัตร จนแตกมวลน้ำไหลท่วมพื้นที่ ต.ปงยางคก ต.หนองล่ม ต.ห้างฉัตร อ.ห้างฉัตร และ ต.ลำปางหลวง อ.เกาะคา ระดับน้ำท่วมสูง 20-50 ซม. บ้านเรือนประชาชนได้รับความเสียหาย 180 หลัง ส่วน จ.พะเยา มวลน้ำในกว๊านพะเยามีปริมาณเกินกักเก็บไหลทะลัก ลงสู่ลำน้ำอิง กระแสน้ำกัดเซาะพนังกั้นน้ำริมลำน้ำอิง จนแตกหลายจุด น้ำไหลท่วมพื้นที่การเกษตร ต.ท่าวังทอง อ.เมืองพะเยา เสียหายกว่า 500 ไร่

ส่วน จ.เลย สถานการณ์น้ำท่วมเริ่มคลี่คลายแล้ว แต่ยังคงมีพื้นที่น้ำท่วมพื้นที่ลุ่มต่ำ ต.นาอาน ต.ชัยพฤกษ์ ต.กุดป่อง และเขตเทศบาลเมืองเลย ระดับน้ำสูง 10-30 ซม. ส่วนกรณีนายสุปัน พิลาฤทธิ์ อายุ 52 ปี ถูกน้ำป่าพัดหายไปในพื้นที่ ต.แก่งศรีภูมิ อ.ภูหลวง เมื่อวันที่ 6 ต.ค.ที่ผ่านมา ล่าสุด พบตัวแล้วอยู่ห่างจากจุดเกิดเหตุ 2 กม. อยู่ในสภาพอิดโรย ตามตัวมีบาดแผล ถูกนำส่ง รพ.ภูหลวง

ขณะที่นายสมพร ขานดา อายุ 48 ปี ชาว ต.ปลาบ่า อ.ภูเรือ พลัดตกเรือบริเวณลำน้ำสาน ถูกกระแสน้ำที่ไหลเชี่ยวพัดหายไป เมื่อวันที่ 8 ต.ค.ที่ผ่านมา เจ้าหน้าที่ยังค้นหาไม่พบ

ส่วนสถานการณ์ลุ่มน้ำเจ้าพระยายังคงวิกฤติ ที่ จ.นครสวรรค์ ระดับน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยาเพิ่มสูง อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้สถานการณ์น้ำท่วมขยายวงกว้าง เนื่องจากมวลน้ำเหนือไหลมาสมทบอย่าง ต่อเนื่อง โดยเฉพาะพื้นที่หมู่ 5 ต.นครสวรรค์ออก อ.เมืองนครสวรรค์ บางจุดระดับน้ำสูงกว่า 2 เมตร ชาวบ้านเร่งขนย้ายทรัพย์สินขึ้นที่สูง บางรายขนย้าย ทรัพย์สินและสร้างเพิงพักอาศัยอยู่ริมถนนนครสวรรค์ - ชุมแสง เนื่องจากไม่มั่นใจในสถานการณ์

เช่นเดียวกับ จ.อ่างทอง ระดับน้ำเจ้าพระยาที่สถานีวัดระดับน้ำ C7A หน้าศาลากลางจังหวัดอ่างทอง อยู่ที่ 8.16 เมตร จากระดับตลิ่ง 9.32 ปริมาณน้ำไหลผ่าน 1,991 ลบ.ม./วินาที ทหาร มทบ.13 นำเต็นท์มากางริมถนนป่าโมก-บางบาล ต.โผงเผง อ.ป่าโมก จำนวน 20 เต็นท์ เพื่อให้ประชาชนที่ได้รับผลกระทบคันดินกั้นคลองโผงเผงแตกมาอยู่อาศัยชั่วคราว

จ.ปทุมธานี น้ำจากแม่น้ำเจ้าพระยาล้นตลิ่ง ไหลท่วมสถานที่ราชการและบ้านเรือนประชาชนในพื้นที่ ต.บางเตย อ.สามโคก ระดับน้ำสูงประมาณ 20 ซม. ทำให้ประชาชนได้รับความเดือดร้อน นอกจากนี้ น้ำเอ่อท่วมวัดสะแกและโรงเรียนวัดสะแก หมู่ 2 ต.สามโคก อ.สามโคก ระดับน้ำสูงประมาณ 30 ซม. ครูและนักเรียนพากันช่วยกันขนย้ายข้าวของที่อยู่บริเวณอาคารเรียนชั้น 1 ขึ้นไปเก็บชั้น 2 อย่าง โกลาหล ขณะที่เด็กนักเรียนมาสอบเป็นวันสุดท้าย พากันเล่นน้ำที่หน้าห้องเรียนหลังสอบเสร็จอย่างสนุกสนาน เนื่องจากน้ำเริ่มท่วมเป็นวันแรก

นายสมเกียรติ ประจำวงษ์ อธิบดีกรมชลประทาน เปิดเผยว่า กรมชลประทานเตรียมปรับแผนเพิ่มการระบายน้ำ 3 เขื่อน ได้แก่ เขื่อนเจ้าพระยา เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ และเขื่อนอุบลรัตน์ เพื่อรองรับ ปริมาณฝนที่จะตกหนักอย่างต่อเนื่อง กรมอุตุนิยมวิทยาระบุว่า ในช่วงวันที่ 9-11 ต.ค. บริเวณภาคอีสานตอนบนและภาคเหนือจะมีฝนตกจำนวนมาก จังหวัดที่เคยเกิดน้ำท่วมแล้วจะต้องระวังเป็นพิเศษ เนื่องจากอาจเกิดน้ำท่วมซ้ำ อาทิ จังหวัดนครพนม สกลนคร ยโสธร น่าน เป็นต้น ส่วนช่วงวันที่ 12-14 ต.ค. บริเวณภาคกลางจะเกิดฝนตกหนักอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม คาดว่าประมาณวันที่ 16-17 ต.ค. จะมีการก่อตัวของพายุลูกใหม่ กรมอุตุนิยมวิทยากำลัง เร่งติดตามสถานการณ์อยู่ คาดว่าจะได้ความชัดเจนวันที่ 13 ต.ค.นี้

ที่ทำเนียบรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) กล่าวว่า เป็นห่วงเรื่องน้ำท่วม อยากให้ทำความเข้าใจว่าน้ำเริ่มมากขึ้นที่เขื่อนเจ้าพระยา ขอฝากผู้ว่าฯให้ช่วยอธิบายว่า นํ้ามาจากทางไหน เพราะฝนตกลงมามากเกินไป น้ำก็มีปัญหาทั้งสิ้น เพราะอย่างไรน้ำก็ไหลจากเหนือลงใต้ ก็เกิดการสะสมน้ำ อยากแก้ปัญหาน้ำให้ได้อย่างเป็นรูปธรรม เพราะวันนี้เราได้แก้ทุกอย่าง ทั้งน้ำท่วม น้ำแล้ง และเพิ่มแหล่งกักเก็บน้ำ แต่ยังติดปัญหาเรื่องที่ประชาชนไม่เข้าใจ ขอฝากผู้ว่าฯทุกคนให้ช่วยกันและคิดแบบตนคิด









อยุธยา ท่วม 7 อำเภอ 2.5 หมื่นครัวเรือน ประกาศเป็นเขตภัยพิบัติ 84 ตำบล ตายแล้ว 2 ศพ [ มติชนออนไลน์ : 14 ต.ค. 60 11.26 น ]

นายเรวัต ประสงค์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปิดเผยว่า ปัจจุบันในพื้นที่ถูกน้ำท่วมรวมแล้ว 7 อำเภอ ประกอบด้วย อ.ผักไห่ เสนา บางบาล พระนครศรีอยุธยา บางปะอิน บางไทร และล่าสุดเขต อ.บางปะหัน ซึ่งส่วนใหญ่พื้นที่ถูกน้ำท่วมเป็นชุมชนริมแม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำน้อย และลำคลองสายหลักของจังหวัด โดยถูกน้ำท่วมรวมแล้ว 84 ตำบล 491 หมู่บ้าน จำนวน 25,454 หลังคาเรือน มีผู้เสียชีวิตเพราะจมน้ำแล้ว 2 ศพ พื้นที่การเกษตรเสียหาย 3,651 ไร่ สถานที่ราชการถูกน้ำท่วม 2 แห่ง วัด 10 แห่ง โรงเรียน 10 แห่ง และมัสยิด 1 แห่ง

อย่างไรก็ตามถึงจนวันนี้ นายสุจินต์ ไชยชุมศักดิ์ ผู้ว่าฯพระนครศรีอยุธยา ได้ประกาศเป็นเขตภัยพิบัติน้ำท่วมอย่างเป็นทางการแล้ว 6 อำเภอ ได้แก่ อ.ผักไห่ เสนา บางบาล พระนครศรีอยุธยา บางปะอิน และบางไทร รวมเป็น 67 ตำบล 409 หมู่บ้าน ซึ่งล่าสุดยังได้ประกาศให้เขตชุมชนฝั่งตรงข้ามเกาะเมือง และชุมชนริมแม่น้ำบนเกาะเมืองแต่นอกเขตคันกั้นน้ำเป็นพื้นที่ภัยพิบัติน้ำท่วมแล้วเช่นกัน








ริมฝั่งเจ้าพระยาปทุมธานียังวิกฤต น้ำล้นตลิ่งท่วมสองฝั่ง ปชช.เดือดร้อนจำนวนมาก [ มติชนออนไลน์ : 15 ต.ค. 60 20.41 น. ]

เมื่อวันที่ 15 ต.ค. 60 ผู้สื่อข่าวรายงานว่า สถานการณ์ลุ่มน้ำเจ้าพระยา ขณะนี้ยังคงวิกฤติ ที่ จ.ปทุมธานี ระดับน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยายังคงเพิ่มสูงอย่างรวดเร็วเนื่องจากมวลน้ำจากทางภาคเหนือได้ไหลมาสมทบอย่างต่อเนื่องรวมทั้งฝนที่ตกลงมาอย่างหนักเมื่อวานนี้อย่างต่อเนื่องจนกระทั่งถึงวันนี้ ส่งผลให้สถานการณ์น้ำท่วมล้นตลิ่งโดยเฉพาะบ้านเรือนประชาชนที่อยู่ติดริมแม่น้ำเจ้าพระยา และขยายวงกว้างเข้าท่วมบ้านเรือนประชาชน และวัดวาอารามต่างๆ ที่อยู่ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาทั้งสองฝั่ง

โดยเฉพาะพื้นที่ ต.บางเตย ต.สามโคก ต.กระแชง อ.สามโคก จ.ปทุมธานี ระดับน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยาได้เพิ่มสูงกว่า 60-70 ซม. ทำให้ประชาชนต่างได้รับความเดือดร้อนจำนวนมาก บางรายต้องใช้โฟมแทนเรือเพื่อนั่งเข้าบ้านเพราะถนนมีน้ำท่วมขัง นอกจากนี้น้ำยังเอ่อท่วมวัดสะแก วัดไก่เตี้ย ต.สามโคก อ.สามโคก ที่มีระดับน้ำสูงประมาณ 70 ซม. ทำให้ทั้งพระ เณร และลูกศิษย์วัด ร่วมกับชาวบ้าน ต่างต้องมาช่วยกันขนย้ายสิ่งของไปไว้ที่สูง และสร้างทางเดิน ในการออกบิณฑบาต อีกด้วย









น้ำท่วมขอนแก่นหลังเขื่อนอุบลรัตน์เพิ่มการระบายน้ำ ด้านลำน้ำชีเอ่อล้นตลิ่งท่วมร้อยเอ็ด [ เรื่องเล่าเช้านี้ : 16 ต.ค. 60 ]

เขื่อนอุบลรัตน์เพิ่มการระบายน้ำ ตามมติคณะกรรมการบริหารและจัดการน้ำจังหวัดขอนแก่น ทำให้ลำน้ำเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว และไหลเข้าท่วมบ้านเรือนประชาชน ที่อยู่ติดกับลำนำน้ำพอง รวมทั้งน้ำได้ไหลเอ่อล้นเข้าท่วมนาข้าว รวมทั้งพื้นที่ปลูกฝรั่งของเกษตรกร 10 หมู่บ้านในเขตตำบลท่ากระเสริม อำเภอน้ำพอง เขตตำบลอื่นที่อยู่ติดลำน้ำ

 ที่ จ.ร้อยเอ็ด สถานการณ์น้ำชีที่เอ่อล้นตลิ่งหลากเข้าท่วมบ้านเรือน วัด โรงเรียน และนาข้าว ในเขตพื้นที่ อ.จังหาร จ.ร้อยเอ็ด ได้ขยายวงกว้างและเพิ่มระดับสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ประชาชนได้รับผลกระทบหนัก

 ด้าน จ.เพชรบูรณ์ น้ำจากแม่น้ำป่าสักที่ไหลจาก อ.เมือง ไหลหลากเข้าท่วมถนนสาย บ้านวังรี - หนองไผ่ สูงกว่า 40 -50 ซ.ม. ถนนน้ำท่วมระยะทางกว่า 400 เมตรบ้านเรือถูกน้ำท่วม 115 หลัง พื้นที่เกษตรเสียหาย 100 ไร่







น้ำท่วม อ.พิมาย ขยายเป็น 5 ตำบล [ กรุงเทพธุรกิจ : 17 ต.ค. 60 ]

สถานการณ์น้ำท่วม อ.พิมาย จ.นครราชสีมา ขยายเพิ่มเป็น 5 ตำบล บ้านและถนนจมบาดาลหลายจุด

รายงานสถานการณ์น้ำท่วม ในพื้นที่ อ.พิมาย จ.นครราชสีมา ภายหลังจากที่ช่วง 2 สัปดาห์ที่ผ่านมา ได้เกิดฝนตกลงมาอย่างต่อเนื่อง ในพื้นที่หลายอำเภอของจังหวัดนครราชสีมา ส่งผลให้น้ำไหลมารวมกันที่ลำน้ำมูล ในเขตพื้นที่ อ.พิมาย ซึ่งเป็นพื้นที่ลุ่มต่ำทำให้เกิดน้ำเอ่อล้นเข้าท่วมถนนและบ้านเรือนราษฎรเป็นบริเวณกว้าง

โดยล่าสุด วันนี้ (17 ต.ค. 60) น้ำได้เอ่อล้นตลิ่งลำน้ำมูลขยายออกเป็นวงกว้างเข้าท่วมจากเดิม 2 ตำบลเป็น 5 ตำบล ประกอบไปด้วย ต.ในเมือง ต.ท่าหลวง ต.โบสถ์ ต.ธารละหลอด และ ต.สัมฤทธิ์ ซึ่งส่วนใหญ่ระดับน้ำจะท่วมเฉพาะบ้านเรือนประชาชนที่อยู่ติดลำน้ำมูล ขณะที่ ต.ในเมือง น้ำได้เอ่อเข้าท่วมสถานที่ราชการหลายแห่ง อาทิ บ้านพักข้าราชการ, บ้านพัก อส., ถนนหน้าบ้านพักนายอำเภอพิมาย, ด้านหน้าและรอบบริเวณศูนย์ประสานงานประจำอำเภอพิมาย, องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา, ห้องสมุดประชาชน เฉลิมราชกุมารี อ.พิมาย จ.นครราชสีมา และศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) อ.พิมาย เป็นต้น โดยระดับน้ำท่วมสูงประมาณ 30-40 เซนติเมตร

ด้านถนนสายบ้านใหม่ไทรงามไป ต.ท่าหลวง อ.พิมาย จ.นครราชสีมา ได้มีน้ำไหลเข้าท่วมพื้นถนนเป็นระยะทางกว่า 800 เมตร โดยมีระดับน้ำสูงประมาณ 40 เซนติเมตร และน้ำมีความไหลเชี่ยว ทำให้ประชาชนผู้ใช้รถยนต์และรถจักรยานยนต์สัญจรผ่านไปมาด้วยความยากลำบาก และพื้นที่การเกษตร โดยเฉพาะนาข้าวซึ่งกำลังออกรวง ได้ถูกน้ำท่วมสูงจนกลายเป็นทุ่งทะเล นาข้าวได้รับความเสียหายไปแล้วกว่า 4,000 ไร่ ขณะนี้ทางอำเภอพิมาย กำลังเร่งสำรวจความเสียหาย เพื่อให้การช่วยเหลือเยียวยาความเดือดร้อนในเบื้องต้นแล้ว








น้ำท่วมมหาสารคามหลายพื้นที่ ผลพวงเขื่อนอุบลรัตน์ปล่อยน้ำเพิ่ม [ PPTV : 17 ต.ค. 60 11:49 น.]

วันนี้เขื่อนอุบลรัตน์เพิ่มการปล่อยน้ำลงมาเป็น 50 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อวัน พื้นที่รับน้ำต่อก็คือจังหวัดมหาสารคาม บางจุดพบว่าเริ่มมีน้ำเอ่อล้นตลิ่งจากแม่น้ำชีแล้ว เข้าท่วมเขตชุมชนทำให้บางหมู่บ้านกลายเป็นเกาะกลางน้ำไป

วันนี้ (17 ต.ค.60) ผู้สื่อข่าวรายงานว่า หมู่บ้านในตำบลโพนงาม อำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม จำนวน 3 หมู่บ้านกลายเป็นเกาะกลางน้ำไปแล้ว หลังจากที่น้ำเอ่อล้นตลิ่งแม่น้ำชี ออกมาเข้าท่วมหมู่บ้านและพื้นที่การเกษตร ชาวบ้านหากต้องการเดินทางเข้าออกจะต้องใช้เรือและยกสูงเพียงอย่างเดียว




ขณะที่ ภาพจากอากาศยานไร้คนขับ ของทีมข่าวพีพีทีวี จะเห็นว่าหมู่บ้านดอนน้อย ตำบลโพนงาม อำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม ถูกล้อมรอบด้วยปริมาณน้ำ ที่เอ่อล้นตลิ่งจากแม่น้ำชี หมู่บ้านแห่งนี้กำลังจะถูกตัดขาดจากโลกภายนอก ซึ่งตอนนี้ หากชาวบ้านต้องการเดินทางออกจากหมู่บ้าน จะต้องใช้เรือหรือรถขึ้นสูงเพียงอย่างเดียว  สำหรับจุดนี้ ทีมข่าวของเราได้เข้ามารายงานสถานการณ์ไปแล้วเมื่อวาน พบว่าระดับขึ้นสูงจากเมื่อวานนี้ และมีทีท่าว่าจะสูงขึ้นอีกกว่านี้ และใกล้กับเมื่อปี2554 แล้ว



เมื่อเช้านี้เราบินสำรวจในเขตตัวเมืองมหาสารคาม พบว่ามีกลุ่มเมฆเข้ามาปลุกคุม ทั่วบริเวณในเขตตัวเมือง และเมื่อคืนนี้มีฝนตกลงมาเพิ่มเติม ร้อยละ40 ของพื้นที่ นอกจากเรายังมามีปริมาณน้ำล้นออกจากแม่ชีแล้ว ตอนนี้พื้นที่จังหวัดมหาสารคามที่ได้รับผลกระทบแล้วประกอบด้วย อำเภอโกสุมพิสัย อำเภอกันทรวิชัย อำเภอเชียงยืน และอำเภอเมือง



ส่วนปริมาณน้ำที่ไหลลงเขื่อนอุบลรัตน์วันเมื่อวานอยู่ ที่ 70 ล้าน ลูกบาศก์เมตร  วันนี้ลดลงมาอยู่ที่ 55 ล้าน ลูกบาศก์เมตร เป็นสัญญาณที่ดีขึ้น นะครับ ส่วนการระบายออก จากเขื่อนอุบลรัตน์ 50 ล้าน ลูกบาศก์เมตร แต่ยังเกินความจุที่เขื่อนจะเก็บสามารถจัดเก็บได้ นอกจากนี้ยังมีแนวโน้มว่าจะปล่อยลงมากว่านี้ ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ โดยจะต้องประเมินกันทุกชั่วโมง


ขณะที่ตอนนี้จะเห็นได้ว่ามีชาวบ้านจำนวนมาก ออกมาติดตามสถานการณ์ที่บริเวณหน้าหมู่บ้าน ส่วนหน่วยงานกำลังเข้ามาในพื้นที่เพื่อสำรวจผลกระทบที่เกิดขึ้นตอนนี้






รับมือน้ำล้น ชัยนาทถึงนนท์ ท้ายเขื่อนเจ้าพระยาอ่วม [ ข่าวสด : 25 ต.ค. 60 03.11 น. ]

เร่งระบาย-น้ำท่วมใหญ่แน่

บิ๊กตู่ขอบคุณ 12 แก้มลิง

เขื่อนเจ้าพระยาอั้นไม่อยู่ ต้องเพิ่มการระบายน้ำทิ้ง ปภ.เตือน 6 จว.ลุ่มเจ้าพระยา ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี และนนทบุรี รับมือน้ำล้นตลิ่งเพราะมีน้ำทะเลหนุนด้วย ชาวสิงห์บุรี 8 พันครัวเรือนโดนน้ำท่วมหนัก ส่วนกรุงเก่าผู้สูงอายุเริ่มเครียดเพราะโดนน้ำล้อมกรอบ ชาวสามโคกวอนเรือขนส่งแล่นเบาๆ เพราะคลื่นจากเรือกระแทกพื้นเรือนจนพังเสียหาย นครปฐมก็สั่งรับมือแม่น้ำท่าจีนล้นทะลัก

เมื่อวันที่ 24 ต.ค. นายวันชัย ศักดิ์อุดมไชย อธิบดีกรมอุตุนิยมวิทยา ออกประกาศกรมอุตุนิยมวิทยาเรื่องการเข้าสู่ฤดูหนาวของประเทศไทย พ.ศ.2560 ความว่า ประเทศไทยเริ่มเข้าสู่ฤดูหนาวแล้ว เมื่อวันที่ 23 ต.ค. โดยอุณหภูมิต่ำสุดบริเวณภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบนของทั้งภาคกลาง และภาคตะวันออกลดลง อยู่ในเกณฑ์อากาศหนาวเย็นเกือบทั่วไปอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับลมชั้นบนระดับล่างเปลี่ยนเป็นลมตะวันออก หรือตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนลมชั้นบนระดับบนเปลี่ยนเป็นลมตะวันตก รวมทั้งปริมาณและการกระจายของฝนบริเวณประเทศไทยตอนบนลดลงต่อเนื่อง ส่วนภาคใต้ยังคงมีฝนตกชุกหนาแน่นต่อไป

นายวันชัยกล่าวต่อว่า ในส่วนภาคเหนือคาดว่าอุณหภูมิจะลดลงอยู่ในเกณฑ์หนาวถึงหนาวจัดในช่วงตั้งแต่กลางเดือนธ.ค.เป็นต้นไป อุณหภูมิบนพื้นราบจะลดลงเหลือเพียงเลขตัวเดียว เช่นเดียวกับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนบนยอดดอยจะลดลงเหลือเลขตัวเดียวประมาณกลางเดือนพ.ย.เป็นต้นไป สำหรับกรุงเทพฯ อุณหภูมิโดยเฉลี่ยจะหนาวเย็นกว่าปีที่ผ่านมา คาดว่าอุณหภูมิในบางช่วงอาจลงถึง 20 องศาเซลเซียส แต่จะได้รับผล กระทบหลังพื้นที่อื่น ส่วนภาคใต้ฝั่งตะวันออกยังมีฝนอย่างต่อเนื่องไปจนถึงต้นเดือนม.ค.

“ตั้งแต่ต้นเดือนพ.ย.สภาพอากาศความหนาวเย็นในพื้นที่ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะสามารถสัมผัสได้อย่างชัดเจน ส่วนภาคกลางและภาคตะวันออกจะสัมผัสได้ชัดเจนในช่วงครึ่งหลังของเดือนพ.ย.ไปแล้ว ส่วนภาคใต้นั้นฝนจะเพิ่มขึ้นทั้งฝั่งตะวันตกและตะวันออก” อธิบดีกรมอุตุฯ กล่าว


วันเดียวกัน ที่ทำเนียบรัฐบาล พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และหัวหน้าคสช.ให้สัมภาษณ์ถึงสถานการณ์น้ำท่วมว่า รัฐบาลเตรียมแผนตั้งแต่ปีที่ผ่านมา นำข้อมูลเปรียบเทียบหลายปีที่ผ่านมาตั้งแต่ปี 2554 มาสู่การแก้ปัญหาบริหารจัดการน้ำปี 2557-2559 จะเห็นว่าการกักเก็บน้ำเกือบเต็มไปทั้งหมด ข้อดีคือหน้าแล้งจะไม่มีปัญหาเรื่องน้ำในระบบชลประทาน อย่างไรก็ตาม พื้นที่นอกคันกั้นน้ำได้รับผลกระทบ หรือบางพื้นที่ท่วมคันกั้นน้ำ รัฐบาลมีมาตรการดูแลเยียวยา

“แต่เรื่องสำคัญคือการแก้ปัญหาภาพรวมทั้งระบบ การบริหารจัดการน้ำเป็นเรื่องของการเก็บกักน้ำ ทำแก้มลิง ที่เกี่ยวพันกับการเพาะปลูกที่เหมาะสม เก็บเกี่ยวกันฤดูน้ำหลาก ขอบคุณเกษตรกรทำให้ 12 ทุ่งภาคกลาง รองรับได้เป็นแก้มลิงได้ ก็อาจจะมีท่วมบ้างในบางพื้นที่ที่มันเอ่อล้น ก็เป็นน้ำสะสมตั้งแต่กลาง ใต้ ในหลายระดับ พยายามทำให้เดือดร้อนน้อยที่สุด เมื่อเก็บกักไม่ไหว เดี๋ยวมีน้ำมาอีก ก็ต้องมีการปล่อยบ้าง อย่างไรก็ตามพื้นที่นอกคันกั้นน้ำได้รับผลกระทบ หรือบางพื้นที่ท่วมคันกั้นน้ำ รัฐบาลก็มีมาตรการดูแลเยียวยา” นายกฯ กล่าว

พล.อ.ประยุทธ์กล่าวว่า อยากให้ทุกคนติดตามการประชาสัมพันธ์ทั้งตัววิ่งโทรทัศน์และเฟซบุ๊ก อาจจะมีคนไม่พอใจบ้างเป็นเรื่องธรรมดา แต่ขอให้สื่อช่วยกันด้วย ถ้าฝนตกต้องระวังตรงไหนอย่างไร ต้องระมัดระวังประมาทไม่ได้ น้ำมันแรง ต้องไม่ประมาทในเรื่องนี้ น้ำที่ระบายไปทำให้ปริมาณสะสมต่ำกว่าปี 2554 พอสมควร

นายชยพล ธิติศักดิ์ อธิบดี ปภ. เปิดเผยว่า จากการติดตามสภาวะอากาศและปัจจัยเสี่ยงเชิงพื้นที่ร่วมกับกรมอุตุนิยมวิทยา กรมชลประทาน กรมทรัพยากรธรณี สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร พบว่าปริมาณฝนกระจายตัวในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่างและภาคกลาง ทำให้ระดับน้ำในลุ่มน้ำปิงและลุ่มน้ำน่าน มีปริมาณเพิ่มสูงขึ้น ประกอบกับมีฝนตกกระจายอย่างต่อเนื่องในพื้นที่ภาคกลาง ตั้งแต่บริเวณท้ายเขื่อนเจ้าพระยาลงมา

ส่งผลให้มีปริมาณน้ำไหลเข้าเขื่อนเจ้าพระยาเพิ่มมากขึ้น จำเป็นต้องเพิ่มการระบายน้ำผ่านเขื่อนเจ้าพระยา ตั้งแต่วันที่ 23 ต.ค.เป็นต้นไป ในปริมาณไม่เกิน 2,700 ลบ.ม.ต่อวินาที และจะยังคงการระบายน้ำในอัตราดังกล่าวต่อเนื่องจนถึงวันที่ 30 ต.ค. ประกอบกับอิทธิพลน้ำทะเลหนุนสูงระหว่างวันที่ 23-27 ต.ค. จะส่งผลให้ระดับน้ำท้ายเขื่อนเจ้าพระยา ตั้งแต่จ.ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี และนนทบุรี สูงขึ้น 20-25 ซ.ม. อาจทำให้เกิดภาวะน้ำล้นตลิ่งในพื้นที่ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา จึงประสานจังหวัดในพื้นที่เสี่ยงภัยทั้ง 6 จังหวัด เตรียมพร้อมรับมือ

นายสมเกียรติ ประจำวงษ์ อธิบดีกรมชลประทาน เปิดเผยว่า สถานการณ์น้ำภาคกลางเริ่มชะลอตัว จะมีระดับน้ำขึ้นสูงสุดประมาณ 10 ซ.ม. หรือหากมีฝนมาสมทบก็สูงขึ้นตามปริมาณฝนที่ตก ซึ่งประชาชนกังวลว่าน้ำเหนือจะไหลลงมาสมทบกับน้ำฝนตอนกลางของประเทศ คือ กรุงเทพฯ นนทบุรี ปทุมธานี ขอให้วางใจได้เพราะปัจจุบันมีน้ำท่วมเป็นจุดๆ ในแถบ จ.นนทบุรี และจ.ปทุมธานี ส่วนหนึ่งเกิดจากน้ำขึ้นน้ำลง สถานการณ์จะดีขึ้นประมาณอีก 1 สัปดาห์ หรือปลายเดือนต.ค. สถานการณ์น้ำในภาคกลางจะดีขึ้น

ด้านสถานการณ์น้ำในพื้นที่ จ.สิงห์บุรี หลังเขื่อนเจ้าพระยาเพิ่มการระบายน้ำเป็น 2,700 ลบ.ม.ต่อวินาที ในพื้นที่ลุ่มต่ำยังคงมีปริมาณน้ำที่เพิ่มขึ้นชาวบ้านในหลายอำเภอเดือดร้อน 8,063 หลังคาเรือน โดยเฉพาะในพื้นที่ อ.เมือง อ.อินทร์บุรี และอ.พรหมบุรี ที่อยู่ติดริมแม่น้ำเจ้าพระยา โดยเฉพาะที่ตลาดเทศบาลตำบลอินทร์บุรี น้ำในแม่น้ำเจ้าพระยาสูงผุดซึมรั่วไหลผ่านตะเข็บถนนริมเขื่อนฝั่งตะวันออก ส่วนถนนสายสิงห์บุรี-อ่างทอง ต.บางพุทธา อ.เมือง ระดับน้ำในคลองชลประทานเอ่อล้นข้ามถนนช่วงหน้าร.พ. หมอประเจิด นายณรงค์ศักดิ์ วิงวอน นายกเทศบาลเมืองสิงห์บุรี เร่งใช้ดินลูกรังทำแนวเสริมป้องกันน้ำไหลข้ามท่วมชุมชน

วันเดียวกัน นายนรินทร์โชติศิริพันธ์ เตโช ผอ.รพ.สต.ท่าดินแดง อ.ผักไห่ จ.พระนครศรี อยุธยา พร้อมเจ้าหน้าที่ออกตรวจเยี่ยมคนป่วยติดเตียงกว่า 10 ราย และผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในบ้านที่ถูกน้ำจากแม่น้ำน้อยล้นตลิ่งท่วมสูงกว่า 3-4 เมตร พบว่าหลายคนมีอาการเครียดความดันขึ้นสูง เพราะสภาพน้ำที่ท่วมสูงเป็นเวลานาน เจ้าหน้าที่ต้องพูดคุยให้กำลังใจเพื่อคลายเครียด

ด้านสถานการณ์น้ำริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาล้นตลิ่ง ท่วมพื้นที่ อ.สามโคก และอ.เมือง จ.ปทุมธานี บ้านกว่า 4,000 หลังคาเรือน ถูกน้ำท่วม ยังได้รับผลกระทบจากคลื่นที่เกิดจากเรือขนส่งกระแทกเข้าใส่บ้านเรือนที่ส่วนใหญ่เป็นไม้ บางหลังถูกคลื่นกระแทกจนพื้นเรือนพังหลุดออกมาได้รับความเสียหาย จึงขอความร่วมมือกับผู้ขับเรือให้เห็นใจผู้ประสบภัยน้ำท่วมบ้านช่วยลดความเร็วให้เบาลง โดยเฉพาะในช่วงที่เป็นชุมชนบ้านอาศัย

วันเดียวกันในพื้นที่ลุ่ม และพื้นที่ติดแม่น้ำท่าจีน โดยเฉพาะในพื้นที่ ต.บางไทรป่า อ.บางเลน และอ.นครชัยศรี จ.นครปฐม ซึ่งเป็นพื้นที่สีแดง ถูกน้ำท่วมขังตามเกณฑ์ของกรมชลประทาน เริ่มได้รับผลกระทบจากน้ำท่วมแล้ว ประกอบกับโดยบางพื้นที่เกิดมีฝนตกหนัก และมีน้ำเหนือไหลผ่านจากจ.ชัยนาท ลงสู่แม่น้ำท่าจีน ผ่าน จ.สุพรรณบุรี นครปฐม ก่อนไหลลงสู่ทะเล กรมชลประทานนครปฐมจึงฝากเตือนประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ติดแม่น้ำและพื้นที่ลุ่ม ให้เฝ้าระวัง และติดตามพยากรณ์อากาศ รวมถึงประกาศแจ้งเตือนสถานการณ์น้ำจากทางกรมชลประทานอย่างใกล้ชิด








น้ำเจ้าพระยาล้นไหลเข้าท่วมตัวเมืองนนทบุรี [ ไทยพีบีเอส : 25 ต.ค. 60 06:45 น. ]

น้ำเจ้าพระยาล้นตลิ่งไหลเข้าท่วมตัวเมือง จ.นนทบุรี ขณะที่นายกรัฐมนตรีย้ำการบริหารจัดการน้ำของรัฐบาลจะไม่เกิดน้ำท่วมเหมือนปี 2554

วันนี้ (25 ต.ค.2560) ระดับน้ำแม่น้ำเจ้าพระยาที่เพิ่มสูงขึ้นเอ่อล้นท่วมบ้านเรือนและสถานที่ราชการที่อยู่ติดริมแม่น้ำ โดยเฉพาะสถานีตำรวจภูธรเมืองนนทบุรี ถนนนนทบุรี 1 ต.สวนใหญ่ อ.เมือง สูง 30-40 เซนติเมตร ตำรวจจราจรต้องกั้นแผงเหล็ก ติดประกาศเตือน หลังพบรถยนต์ จักรยานยนต์เครื่องยนต์ดับไปหลายคัน ขณะที่ล่าสุดน้ำได้ลดลงแล้ว

นายภานุ แย้มศรี ผู้ว่าราชการจังหวัดนนทบุรี ลงพื้นที่ให้กำลังใจชาวบ้านบนเกาะเกร็ด หลังน้ำเจ้าพระยาเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีฝนตกหนักสะสม ภาพรวมถูกน้ำท่วมทั้งอำเภอเมืองนนทบุรี ปากเกร็ด และบางกรวย โดยเฉพาะที่ อ.ปากเกร็ด เจ้าหน้าที่ กั้นกระสอบทราย ตลอดแนวที่เป็นจุดเสี่ยง ป้องกันน้ำท่วมพื้นที่เศรษฐกิจ

พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ระบุว่า รัฐบาลได้เตรียมแผนรับมือตั้งแต่ปีที่ผ่านมา แต่เพราะสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง มีฝนตกมากและยาวนานในหลายพื้นที่ รวมถึงน้ำในเขื่อนหลักหลายแห่งเต็มเกือบทั้งหมด จึงอาจเกิดน้ำท่วมบ้างในบางพื้นที่ เพราะจำเป็นต้องทยอยปล่อยน้ำ แต่ยืนยันจะให้ประชาชนเดือดร้อนน้อยที่สุด รัฐบาลมีมาตรการเยียวยาทั้งเกษตรกร ที่อยู่อาศัย รวมถึงภาคธุรกิจ และจะไม่ซ้ำรอยปี 2554

ขณะที่ได้ใช้อำนาจตามมาตรา 44 ตั้งสำนักงานบริหารจัดการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ ขึ้นตรงกับสำนักนายกรัฐมนตรี แทนการโอนกรมทรัพยากรน้ำ มาขึ้นตรงกับนายกรัฐมนตรีตามแนวคิดเดิม เพราะเห็นว่าจะสามารถทำงานได้ครอบคลุมมากกว่า มีหน้าที่บูรณาการหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับเรื่องน้ำทั้งหมด







กรมชลประทานรายงานสถานการณ์น้ำ 25 ต.ค. 60-น้ำท่วม 8 ลุ่มน้ำ 24 จังหวัดทั่วไทย [ ประชาไท : 26 ต.ค. 60 00.27 น. ]

กรมชลประทานรายงานสถานการณ์น้ำวันที่ 25 ต.ค. ระบุเขื่อนใหญ่ทั่วประเทศรับน้ำแล้ว 5.9 หมื่นล้าน ลบ.ม. คิดเป็น 84% เทียบปีที่แล้วที่รับน้ำ 68% โดยยังรับน้ำได้อีก 1.2 หมื่นล้าน ลบ.ม. - น้ำท่วมแล้ว 8 ลุ่มน้ำ 24 จังหวัดทั่วประเทศ ลุ่มน้ำชีท่วม 2.9 แสนไร่ 8 จังหวัด ลุ่มน้ำมูล ท่วมอุบลราชธานี 2 อำเภอ บุรีรัมย์ 5 อำเภอ ส่วนลุ่มน้ำเจ้าพระยาท่วม 7 จังหวัด ลุ่มน้ำท่าจีน จ.สุพรรณบุรีท่วม 6 อำเภอ

(ภาพข่าว) พล.ร.อ. นริศ ประทุมสุวรรณ ผู้บัญชาการทหารเรือ ในฐานะผู้บัญชาการศูนย์บรรเทาสาธารณภัยกองทัพเรือ พร้อมด้วยเจ้ากรมอู่ทหารเรือ อธิบดีกรมชลประทาน และคณะได้เดินทางไปตรวจการดำเนินการผลักดันน้ำของกองทัพเรือในแม่น้ำท่าจีนของพื้นที่จังหวัดสมุทรสาคร เมื่อ 24 ต.ค. 2560 โดยมี นายประภัสสร์ มาลากาญจน์ ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรสาคร พร้อมส่วนราชการให้การต้อนรับ (ที่มา: สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดสมุทรสาคร)

ฝ่ายประมวลวิเคราะห์และสถานการณ์น้ำ กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เผยแพร่เอกสารสถานการณ์น้ำประจำวันที่ 25 ตุลาคม 2560 ตอนหนึ่งมีรายละเอียดเกี่ยวกับสถานการณ์น้ำท่วมและน้ำล้นตลิ่งทั่วประเทศดังนี้

สภาพน้ำในอ่างเก็บนํ้า

สภาพน้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่และขนาดกลาง ปริมาตรน้ำในอ่างฯ 63,073 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็นร้อยละ 84 (ปริมาตรน้ำใช้การได้ 39,254 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็นร้อยละ 76) ปริมาตรน้ำในอ่างฯ เทียบกับปี 2559 (51,565 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็นร้อยละ 69) มากกว่าปี 2559 จำนวน 11,508 ล้าน ลบ.ม. ปริมาณน้ำไหลลงอ่างฯจำนวน 468.33 ล้าน ลบ.ม. ปริมาณน้ำระบาย จำนวน 328.45ล้าน ลบ.ม. สามารถรับน้ำได้อีก 12,763 ล้าน ลบ.ม.

สภาพน้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ ปริมาตรน้ำในอ่างฯ 59,092 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็นร้อยละ 84 (ปริมาตรน้ำใช้การได้ 35,566 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็นร้อยละ 75) ปริมาตรน้ำในอ่างฯ เทียบกับปี 2559 (48,146 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็นร้อยละ 68) มากกว่าปี 2559 จำนวน 10,946 ล้าน ลบ.ม. ปริมาณน้ำไหลลงอ่างฯจำนวน 300.31 ล้าน ลบ.ม. ปริมาณน้ำระบายจำนวน 155.23 ล้าน ลบ.ม. สามารถรับน้ำได้อีก 12,283 ล้าน ลบ.ม.

สถานการณ์น้ำท่วม

ลุ่มน้ำโขง

จังหวัดเลย พื้นที่น้ำท่วมรวม 1 อำเภอ ได้แก่ อ.ด่านซ้าย สาเหตุเกิดจากฝนตกหนักในวันที่ 23 ตุลาคม 2560 ทำให้น้ำจากลำน้ำหมันเอ่อล้นตลิ่งเข้าท่วมพื้นที่ ระดับน้ำสูงประมาณ 10-20 ซม. ปัจจุบันระดับน้ำทรงตัว คาดว่าจะเข้าสู่ภาวะปกติภายในวันนี้

ลุ่มน้ำปิง

จังหวัดเชียงใหม่ พื้นที่น้ำท่วมรวม 2 อำเภอ ได้แก่ อ.แม่วาง และ อ.แม่แจ่ม ซึ่งสาเหตุเกิดจากฝนตกหนักใน วันที่ 24 ตุลาคม 2560 ส่งผลให้ระดับน้ำล้นตลิ่งเข้าท่วมพื้นที่ทางการเกษตร ปัจจุบันสถานการณ์เข้าสู่ภาวะปกติ

ลุ่มน้ำยม

จังหวัดพิจิตร ยังคงพื้นที่น้ำท่วมรวม 11 อำ เภอ ได้แก่ อ.ตะพานหิน อ.โพทะเล อ.วังทรายพูน อ.โพ ธิ์ประทับ ช้าง อ.สาม ง่าม อ .บึงนางราง อ .สากเหล็ก อ .บางมูลนาก อ. เมือง อ.ดงเจ ริญ แล ะ อ.วชิรบารมี โครงการชลประทานพิจิตรสนับสนุนเครื่องสูบน้ำเคลื่อนที่จำนวน 15 เครื่อง

จังหวัดสุโขทัย ยังคงมีพื้นที่น้ำท่วมรวม 9 อำเภอ ได้แก่ อ.เมือง อ.บ้านด่านลานหอย อ.สวรรคโลก อ.คีรีมาศ อ.กงไกรลาศ อ.ศรีนคร อ.ศรีสำโรง อ.ทุ่งเสลี่ยม และ อ.ศรีสัชนาลัย โครงการชลประทานสุโขทัยติดตั้งเครื่องสูบน้ำ จำนวน 10 เครื่อง ปัจจุบันระดับนํ้ายังทรงตัว

ลุ่มน้ำชี

พื้นที่น้ำท่วมรวม 292,785 ไร่ แยกเป็นรายจังหวัดได้ดังนี้

จังหวัดยโสธร พื้นที่น้ำท่วมลุ่มต่ำ ทางการเกษตรในพื้นที่ 4 อำ เภอ ได้แก่ อ.ค้อวัง อ.คำ เขื่อนแก้ว อ.มหาชนะชัย และ อ.เมือง เนื่องจากน้ำเอ่อล้นตลิ่งจากแม่น้ำชีเข้าท่วมพื้นที่การเกษตรประมาณ 113,762 ไร่

จังหวัดร้อยเอ็ด ยังคงมีพื้นที่น้ำท่วมลุ่มต่ำทางการเกษตรในพื้นที่ 1 อำเภอ ได้แก่ อ.พนมไพร เนื่องจากน้ำเอ่อล้นตลิ่งจากแม่น้ำชีเข้าท่วมพื้นที่การเกษตรประมาณ 15,362 ไร่

จังหวัดชัยภูมิ ยังคงมีพื้นที่น้ำท่วม 5 อำเภอ ได้แก่ อ.จัตุรัส อ.บ้านเขว้า อ.คอนสวรรค์ อ.เนินสง่า และ อ.เมือง ปัจจุบันมีน้ำไหลเอ่อล้นตลิ่งของแม่น้ำชีทั้งสองฝั่งเข้าท่วมพื้นที่การเกษตรและพื้นที่ชุมชน มีพื้นที่ได้รับผลกระทบประมาณ 21,511 ไร่ ปัจจุบันระดับน้ำเริ่มลดลง

จังหวัดศรีสะเกษ ยังคงมีน้ำท่วมพื้นที่การเกษตรใน 1 อำเภอ ได้แก่ อ.กันทรารมย์ เนื่องจากน้ำเอ่อล้นตลิ่งรวมพื้นที่น้ำท่วมประมาณ 18,969 ไร่

จังหวัดมหาสารคาม ยังคงมีน้ำ ท่วมขังพื้นที่ลุ่มต่ำ 4 อำ เภอ ได้แก่ อ.โกสุมพิสัย อ.กันทรวิชัย และ อ.เมือง และ อ.เชียงยืน ระดับน้ำทรงตัว โครงการชลประทานจังหวัดมหาสารคามได้ติดตั้งเครื่องสูบน้ำเคลื่อนที่จำนวน 30 เครื่อง เครื่องสูบน้ำด้วยไฟฟ้า 8 เครื่อง และเครื่องจักรเพื่อเสริมคันกั้นน้ำ

จังหวัดอุบลราชธานี พื้นที่น้ำท่วม 2 อำเภอ ได้แก่ อ.เมือง และ อ.เขื่องใน รวมพื้นที่น้ำท่วมประมาณ 68,400 ไร่ ปัจจุบันระดับน้ำลดลง

จังหวัดขอนแก่น ยังคงมีพื้นที่น้ำท่วมรวม 16 อำ เภอ ได้แก่ อ.เมืองขอนแก่น อ.แวงใหญ่ อ.แวงน้อย อ.โคกโพธิ์ชัย อ.ชนบท อ.น้ำพอง อ.บ้านแฮด อ.บ้านไผ่ อ.พระยืน อ.มัญจาคีรี อ.หนองเรือ อ.อุบลรัตน์ อ.ชุมแพ อ.ภูผาม่าน อ.ภูเวียง และ อ.หนองนาคำ รวมพื้นที่นํ้าท่วม 71,409 ไร่ สถานีสูบน้ำที่ ปตร.D8 ในเขตส่งน้ำและบำรุงรักษาหนองหวาย เดินเครื่องสูบน้ำจำนวน 18 เครื่อง

จังหวัดกาฬสินธุ์ ยังคงมีพื้นที่น้ำท่วมขังรวม 3 อำเภอ ได้แก่ อ.ร่องคำ อ.ฆ้องชัย และ อ.กมลาไสย โครงการชลประทานกาฬสินธุ์ได้ติดตั้งเครื่องสูบน้ำจำนวน 8 เครื่อง

จังหวัดหนองบัวลำภู พื้นที่น้ำท่วมนอกคันกั้นน้ำ 2 อำเภอ ได้แก่ อ.โนนสัง และ อ.ศรีบุญเรือง รวมพื้นที่น้ำท่วมในเบื้องต้นประมาณ 4,000 ไร่ ปัจจุบันระดับน้ำและพื้นที่ได้รับผลกระทบยังคงเพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากปริมาณการระบายน้ำของเขื่อนอุบลรัตน์น้อยกว่าปริมาณน้ำที่ไหลลงอ่าง

ลุ่มน้ำมูล

จังหวัดอุบลราชธานี ยังคงมีพื้นที่นํ้าท่วม 2 อำเภอ ได้แก่ อ.เมือง และ อ.วารินชำราบ ซึ่งได้รับผลกระทบจากการเอ่อล้นตลิ่งของแม่น้ำมูล กรมชลประทานได้สนับสนุนเครื่องผลักดันน้ำจำนวน 12 เครื่อง ติดตั้งที่สะพานข้ามแม่น้ำมูล อ.พิบูลมังสาหาร เพื่อเร่งระบายน้ำในแม่น้ำมูลลงสู่แม่น้ำโขง ปัจจุบันระดับน้ำลดลง

จังหวัดบุรีรัมย์ พื้นที่น้ำท่วมรวม 5 อำเภอ ได้แก่ อ.สตึก อ.พุทไธสง อ.แดนดง อ.บ้านใหม่ไชยพจน์ และ อ.คูเมือง เนื่องจากปริมาณน้ำจากจังหวัดนครราชสีมาไหลมาสมทบกับแม่น้ำมูล ส่งผลให้ระดับน้ำเพิ่มสูงขึ้นจนเอ่อล้นตลิ่งเข้าท่วมพื้นที่ลุ่มต่ำทางการเกษตร

ลุ่มน้ำน่าน

จังหวัดพิษณุโลก ยังคงมีพื้นที่น้ำท่วม 1 อำเภอ ได้แก่ อ.บางระกำ เมื่อ 17 ตุลาคม 2560 สาเหตุจากเกิดฝนตกหนักและน้ำป่าไหลหลากเข้าท่วม บริเวณฝั่งขวาแม่น้ำยมเนื่องจากเป็นจุดรับน้ำจากสุโขทัย มีน้ำเอ่อล้นตลิ่งและยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โครงการชลประทานพิษณุโลกได้ติดตั้งเครื่องสูบน้ำในพื้นที่

ลุ่มน้ำเจ้าพระยา

จังหวัดนครสวรรค์ ยังคงมีพื้นที่น้ำท่วมรวม 9 อำ เภอ ได้แก่ อ.ชุมแสง อ.พยุหะคีรี อ.โกรกพระ อ.ลาดยาว อ.ตาคลี อ.เมือง อ.ท่าตะโก อ.เก้าเลี้ยว และ อ.บรรพตพิสัย โครงการชลประทานนครสวรรค์ได้ดำเนินการติดตั้งเครื่องสูบนํ้าจำนวน 13 เครื่อง แนวโน้มระดับน้ำเพิ่มขึ้น

จังหวัดชัยนาท ยังคงมีพื้นที่น้ำท่วมนอกคันกั้นน้ำ 5 อำเภอ ได้แก่ อ.มโนรมย์ อ.เมือง อ.สรรพยา อ.หันคา และ อ.วัดสิงห์ โครงการชลประทานชัยนาทได้ดำเนินการติดตั้งเครื่องสูบน้ำจำนวน 9 เครื่องใน อ.สรรพยา ปัจจุบันระดับน้ำยังคงสูงขึ้น ส่วน อ.สรรพยา ปัจจุบันระดับน้ำยังเพิ่มสูงขึ้น

จังหวัดสิงห์บุรี พื้นที่น้ำท่วมนอกคันกั้นน้ำ 4 อำเภอ 19 ตำบล ได้แก่ อ.เมือง อ.อินทร์บุรี อ.พรหมบุรี และ อ.ท่าช้าง ลักษณะน้ำเอ่อล้นตลิ่ง ปัจจุบันระดับน้ำมีแนวโน้มทรงตัว โครงการชลประทานสิงห์บุรีได้ติดตั้งเครื่องสูบน้ำจำนวน 28 เครื่อง

จังหวัดลพบุรี ยังคงมีพื้นที่น้ำท่วมขัง 1 อำเภอ ได้แก่ อ.บ้านหมี่ ปริมาณมวลน้ำจากพื้นที่สูงไหลลงมาที่ลุ่มต่ำฝั่งซ้ายคลองชัยนาท-ป่าสัก ระดับน้ำมีแนวโน้มลดลงเฉลี่ยวันละประมาณ 3 ซม. ปัจจุบันระดับน้ำลดลงเล็กน้อย

จังหวัดอ่างทอง ยังคงมีพื้นที่นํ้าท่วมนอกคันกั้นน้ำ 5 อำเภอ 27 ตำบล ได้แก่ อ.เมือง อ.ไชโย อ.ป่าโมก อ.วิเศษชัยชาญ และ อ.โพธิ์ทอง ซึ่ง อ.ป่าโมก ระดับน้ำมีแนวโน้มทรงตัว โครงการชลประทานอ่างทองได้ดำเนินการติดตั้งเครื่องสูบน้ำ 1 เครื่อง ที่ อ. เมือง และกำลังดำเนินการประสานขอเครื่องสูบน้ำเพิ่ม

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ยังคงมีพื้นที่น้ำท่วมนอกคันกั้นน้ำ 9 อำเภอ ได้แก่ อ.บางบาล อ.บางไทร อ.ผักไห่ อ.เมือง อ.เสนา อ.บางปะหัน อ.มหาราช อ.บางปะอิน และ อ.บางซ้าย ระดับน้ำมีแนวโน้มสูงขึ้นเล็กน้อย โครงการชลประทานจังหวัดได้สนับสนุนรถสูบน้ำจำนวน 4 คัน และเครื่องสูบน้ำจำนวน 87 เครื่อง

จังหวัดอุทัยธานี มีพื้นที่น้ำท่วมรวม 3 อำเภอ ได้แก่ อ.สว่างอารมณ์ อ.ทัพทัน และ อ.เมือง พื้นที่น้ำท่วมรวม 14,322 ไร่ โครงการชลประทานอุทัยธานีได้ติดตั้งเครื่องสูบน้ำบริเวณ อ.เมือง จำนวน 4 เครื่อง ปัจจุบันระดับน้ำยังทรงตัว

ลุ่มน้ำท่าจีน

จังหวัดสุพรรณบุรี ยังคงมีพื้นที่น้ำ ท่วมรวม 6 อำเภอ ได้แก่ อ.เดิมบางนางบวช อ.สามชุก อ.เมือง อ.บางปลาม้า อ.สองพี่น้อง และ อ.อู่ทอง รวมพื้นที่น้ำท่วมประมาณ 97,956 ไร่ โครงการชลประทานสุพรรณบุรีได้ติดตั้งเครื่องสูบน้ำจำนวน 10 เครื่อง ปัจจุบันระดับยังคงสูงขึ้น









น้ำชีเพิ่มระดับรวดเร็ว ชาวนากาฬสินธุ์เร่งเกี่ยวข้าว จ่อท่วมแน่! [ ไทยรัฐออนไลน์ : 29 ต.ค. 2560 10:38 ]


ชาวบ้านติดแม่น้ำชีหลายครัวเรือน ต้องจ้างรถเกี่ยวข้าวมาทำการจัดเก็บผลผลิต และเร่งเกี่ยวข้าว เพื่อหนีน้ำท่วม หลังมวลน้ำก้อนใหญ่มาถึง เพราะระดับน้ำเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ หวั่นน้ำท่วมต้นข้าวเสียหาย

เมื่อวันที่ 29 ต.ค. 60 จากการติดตามสถานการณ์น้ำชี หลังจากได้รับมวลน้ำมาจาก จ.ขอนแก่น และ จ.มหาสารคาม ส่งผลให้ระดับน้ำยังคงเพิ่มสูงอย่างต่อเนื่อง จากการตรวจสอบที่เขื่อนวังยาง ต.ลำชี อ.ฆ้องชัย จ.กาฬสินธุ์ พบว่าระดับน้ำเพิ่มสูงขึ้นอีกประมาณ 3 เซนติเมตร กระแสน้ำไหลเชี่ยว ระดับน้ำอยู่ที่ 140.75 ม.รทก.(เมตรเทียบกับระดับน้ำทะเลปานกลาง) จากระดับกักเก็บปกติ 137 ม.รทก. ซึ่งเหลืออีกเพียง 28 ซม.ก็จะเท่ากับระดับน้ำสูงสุดที่เกิดเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ในปี 2554 ซึ่งมีระดับสูงสุดอยู่ที่ 141.03 ม.รทก. โดยเจ้าหน้าที่ได้ทำการยกแขวนบานประตูทั้ง 6 บาน เพื่อให้น้ำระบายน้ำผ่านเขื่อน 1,190.92 ลบ.ม.ต่อวินาที หรือ 102.89 ล้าน ลบ.ม.ต่อวัน

โดยระดับน้ำชีที่ยังคงหนุนสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทำให้ชาวบ้านที่อยู่ติดลำน้ำ ต่างพากันจ้างรถเกี่ยวข้าวมาทำการเกี่ยวข้าวออกจากพื้นที่นาข้าว ก่อนที่น้ำจะเอ่อท่วมจนไม่สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ โดยชาวบ้านในพื้นที่ ต.ลำชี อ.ฆ้องชัย ต่างบอกว่าสถานการณ์น้ำชีในพื้นที่ระดับน้ำยังคงหนุนสูง อีกทั้งกระแสน้ำยังไหลเชี่ยว ทำให้เสี่ยงน้ำกัดเซาะคันพนังกั้นน้ำชีพังได้ตลอดเวลา ชาวบ้านต่างพากันจ้างรถเกี่ยวข้าวมาเร่งเกี่ยวข้าวออกจากพื้นที่นาข้าว ถึงแม้ข้าวจะยังแก่ไม่เต็มที่ก็ตาม เพราะหากปล่อยไว้นาน น้ำเกิดท่วมขึ้นมาก็จะไม่สามารถเก็บเกี่ยวข้าวได้ เสี่ยงขาดทุน ชาวบ้านจึงต่างพากันจ้างรถเกี่ยวข้าวมาทำการเกี่ยวข้าวไปขายให้เร็วที่สุด เพราะกลัวน้ำจะท่วมต้นข้าวจนเสียหาย

ด้าน นายไกรสร กองฉลาด ผวจ.กาฬสินธุ์ กล่าวว่า มวลน้ำก้อนใหญ่จาก จ.ขอนแก่น และ จ.มหาสารคาม ได้มาถึงพื้นที่ จ.กาฬสินธุ์ แล้ว โดยเฉพาะใน อ.ฆ้องชัย และ อ.กมลาไสย ได้สั่งให้เฝ้าระวังตลอดระยะทาง 57 กิโลเมตร ตามพนังกั้นน้ำแม่น้ำชี และได้ระดมเจ้าหน้าที่ร่วมกับประชาชน เร่งเสริมกระสอบทรายตามจุดต่างๆ ที่ค่อนข้างต่ำ เนื่องจากระดับน้ำเพิ่มสูงขึ้น และมีหลายจุดที่ระดับน้ำได้สูงกว่าพนัง และกำลังจะล้นพนัง เพื่อป้องกันน้ำเอ่อล้นตลิ่งเข้าท่วมพื้นที่การเกษตร และบ้านเรือนประชาชน









3 วันต้องเสร็จ! ผวจ.สั่งระดมซ่อมคันดินน้ำพอง ป้องเขตเศรษฐกิจขอนแก่น [ ไทยรัฐออนไลน์ : 29 ต.ค. 2560 10:43 ]
ผวจ.ขอนแก่น สั่งระดมสรรพกำลัง เร่งซ่อมคันดินกั้นน้ำพองที่ถูกน้ำซัดขาดยาวกว่า 30 เมตร คาดเสร็จภายใน 3 วัน ก่อนน้ำทะลักเขตเศรษฐกิจในเมืองขอนแก่น กรณีคันดินคลองส่งน้ำชลประทาน 3L-RMC ที่ทางกรมชลประทาน สร้างเป็นแนวกั้นน้ำจากลำน้ำพอง ไม่ให้ไหลเอ่อล้นเข้าท่วมหมู่บ้าน และพื้นที่การเกษตร ได้ถูกกระแสน้ำจากลำน้ำพองกัดเซาะจนขาดเป็นระยะทางกว่า 30 เมตร บริเวณบ้านคุยโพธิ์ ต.บึงเนียม อ.เมืองขอนแก่น ตั้งแต่ช่วงบ่ายของเมื่อวานนี้ จนต้องลดการระบายน้ำจากเขื่อนอุบลรัตน์ เพื่อซ่อมแซมคันดิน

ล่าสุด เช้าวันที่ 29 ต.ค. นายสมศักดิ์ จังตระกุล ผวจ.ขอนแก่น ได้เดินทางไปตรวจดูพื้นที่ดังกล่าวอีกครั้ง เพื่อวางแผนในการกู้สถานการณ์ให้กลับคืนมาโดยเร็ว ก่อนที่น้ำจะขยายวงกว้างท่วมหมู่บ้าน และพื้นที่การเกษตรไปมากกว่านี้ โดยเฉพาะหากไม่สามารถหยุดสถานการณ์ได้เร็ว น้ำจะไหลทะลักเข้าท่วมพื้นที่เศรษฐกิจชั้นในของเมืองขอนแก่นได้ ผวจ.ขอนแก่น ได้ให้สัมภาษณ์ผู้สื่อข่าวว่า ตลอดทั้งคืนที่ผ่านมา เจ้าหน้าที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันตัดไม้ยูคาลิปตัสมาปักเป็นแนวเขตที่ดินพังทลายลง จากนั้นก็ได้นำบิ๊กแบ็กลงกั้นเป็นแนว เพื่อป้องกันไม่ให้คันดินถูกกระแสน้ำกัดเซาะเป็นแนวกว้างออกไปอีก ซึ่งถือว่าได้ปิดการขยายตัวของการพังทลายคันดินไปได้แล้วส่วนหนึ่ง ขณะที่กำลังเจ้าหน้าที่ทหารช่าง จากกองทัพภาคที่ 2 นครราชสีมา และจาก จ.ร้อยเอ็ด ได้นำกำลังเจ้าหน้าที่ พร้อมเครื่องจักรกลหนักมาถึงพื้นที่ ตั้งแต่เวลา 02.00 น. ของเมื่อคืนนี้ และพร้อมที่จะลงมือปฏิบัติหน้าที่ทันที ขณะนี้รอเพียงรถบรรทุกหินมาถึง

ส่วนขั้นตอนแนวทางของการดำเนินงานนั้น เจ้าหน้าที่จะนำ sheet pile ขนาดกว้าง 40 ซม. ยาว 5 เมตร ปักลงไปเป็นแนว แล้วให้กล่องเกเบียน ซึ่งเป็นลวดตาข่ายบรรจุหินลงไป นำไปหย่อนลงตามแนว แล้วใช้รถแบ็กโฮบด ซึ่งจะค่อยๆ รุกเข้าไปทีละก้าว จนกว่าจะปิดกั้นได้สำเร็จ คาดว่าจะใช้เวลาประมาณ 3 วัน ขณะเดียวกัน ทางประตูระบายน้ำ D 8 ห้วยพระคือ ต.พระลับ ซึ่งมีเครื่องสูบน้ำอยู่ 20 เครื่อง จะเร่งสูบน้ำที่ไหลเข้าไปลงสู่น้ำชี ซึ่งเครื่องสูบน้ำทั้ง 20 เครื่องนี้ ถ้าสูบพร้อมกันก็จะสามารถสูบน้ำออกได้ถึง 5 ล้าน ลบ.เมตรต่อวัน แต่เนื่องจากน้ำไหลเข้าบริเวณคันดินที่ขาดนี้ มีปริมาณประมาณ 6 ล้าน ลบ.เมตรต่อวัน และยังมีน้ำรั่วมาจากลำห้วยใหญ่อีกประมาณ 7 ล้าน ลบ.เมตรต่อวัน รวมกันแล้วน้ำที่ไหลเข้าบริเวณประตูระบายน้ำ D 8 ห้วยพระคือ มีมากกว่าปริมาณน้ำที่จะสามารถสูบออกไป ดังนั้น จึงได้ขอสนับสนุนเครื่องสูบน้ำจากจังหวัดลำปาง 7 เครื่อง และจังหวัดหนองคาย 12 เครื่อง มาเสริมอีก รวม 19 เครื่อง คาดว่าจะสามารถสูบน้ำออกไปได้มีปริมาณใกล้เคียงกับปริมาณน้ำที่ไหลเข้า พร้อมกับได้มีมติจากที่ประชุมคณะกรรมการบริหารจัดการน้ำ จ.ขอนแก่น ให้ทางเขื่อนอุบลรัตน์ลดการระบายน้ำจากเขื่อน ที่ระบายอยู่ 41 ล้าน ลบ.เมตรต่อวัน ตั้งแต่เวลา 21.00 น.ที่ผ่านมา ลงมาเหลือ 38 ล้าน ลบ.เมตรต่อวัน ในเวลา 15.00 น. วันนี้ เพื่อให้การซ่อมแซมคันดินกั้นน้ำแห่งนี้เป็นไปอย่างสะดวกยิ่งขึ้น